ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคลคูลัสเวกเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{แคลคูลัส}}
'''แคลคูลัสเวกเตอร์''' เป็นแขนงหนึ่งของคณิตศาสตร์ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของของ[[เวกเตอร์]]ใน[[มิติ]]ที่สูงกว่าหรือเท่ากับสองมิติ เนื้อหาประกอบด้วยเทคนิคในการแก้ปัญหา และ สูตรคำนวณที่เกี่ยวข้องต่างๆต่าง ๆ ซึ่งมีประโยชน์ใช้งานมากในทาง[[วิศวกรรม]] และ [[ฟิสิกส์]]
 
[[สนามเวกเตอร์]] ใช้หมายถึง การระบุค่าเวกเตอร์ให้กับทุกๆทุก ๆ จุดในปริภูมิที่พิจารณา เช่นเดียวกับ [[สนามสเกลาร์]] ซึ่งเป็นการระบุค่าสเกลาร์ให้กับทุกๆทุก ๆ จุดในปริภูมิ เช่น อุณหภูมิของน้ำในสระ เป็นสนามสเกลาร์ โดยเป็นการระบุค่าอุณหภูมิ ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ให้กับแต่ละตำแหน่ง ส่วนการไหลของน้ำในสระนั้นเป็นสนามเวกเตอร์ เนื่องจากการไหลของน้ำที่แต่ละจุดนั้นจะถูกระบุด้วย เวกเตอร์ความเร็ว
 
;ตัวดำเนินการที่สำคัญในแคลคูลัสเวกเตอร์:
* [[เกรเดียนต์]] (gradient) ใช้สัญลักษณ์ <math>\,\operatorname{grad}~\varphi\,</math> หรือ <math>\,\nabla\varphi\,</math> : เป็นตัวดำเนินการใช้วัดอัตรา และ ทิศทาง ความเปลี่ยนแปลงของสนามสเกลาร์ ดังนั้นเกรเดียนต์ของสนามสเกลาร์ จะได้เป็นสนามเวกเตอร์
* [[ไดเวอร์เจนซ์]] (divergence) ใช้สัญลักษณ์ <math>\,\operatorname{div}~\vec F\,</math> หรือ <math>\,\nabla \cdot \vec F\,</math> : เป็นตัวดำเนินการใช้วัด ความลู่เข้า หรือ ลู่ออก (เป็นจุดกำเนิดสนาม) ของ สนามเวกเตอร์ ณ จุดใดๆใด ๆ
* [[เคิร์ล]] (curl) ใช้สัญลักษณ์ <math>\,\operatorname{curl}~\vec F\,</math> หรือ <math>\,\nabla\times\vec F\,</math> : เป็นตัวดำเนินการใช้วัดระดับความหมุนวน ณ จุดใดๆใด โดย โดยเคิร์ลของสนามเวกเตอร์ จะได้เป็นอีกสนามเวกเตอร์หนึ่ง
 
ตัวดำเนินการอีกตัวหนึ่งคือ [[ตัวดำเนินการลาปลัส]] ได้จากการประยุกต์ ไดเวอร์เจนซ์ และ เกรเดียนต์ รวมกันเจนซ์และเกรเดียนต์รวมกัน
 
;ทฤษฎีที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับตัวดำเนินการดังกล่าว คือ
* [[ทฤษฎีเกรเดียต์]]
* [[ทฤษฎีไดเวอร์เจนซ์]]
บรรทัด 19:
การวิเคราะห์เหล่านี้สามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยาก โดยการใช้วิธีการทาง[[เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์]] (แคลคูลัสเวกเตอร์ เป็นสาขาย่อยหนึ่งของ เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์)
 
== การดำเนินการเวกเตอร์ ==
 
===;การดำเนินการพีชคณิต===
:พื้นฐานพีชคณิต (ไม่ใช่การหาอนุพันธ์) การดำเนินการในแคลคูลัสเวกเตอร์จะเรียกว่าพีชคณิตเวกเตอร์, ถูกกำหนดไว้สำหรับปริภูมิเวกเตอร์และได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้กันทั่วโลกกับสนามเวกเตอร์และประกอบด้วย:
 
;* [[การคูณสเกลาร์]]: การคูณของสนามสเกลาร์และสนามเวกเตอร์ย่อมได้สนามเวกเตอร์: <math>a \bold{v}</math>;
พื้นฐานพีชคณิต (ไม่ใช่การหาอนุพันธ์) การดำเนินการในแคลคูลัสเวกเตอร์จะเรียกว่าพีชคณิตเวกเตอร์, ถูกกำหนดไว้สำหรับปริภูมิเวกเตอร์และได้ถูกนำไปประยุกต์ใช้กันทั่วโลกกับสนามเวกเตอร์และประกอบด้วย:
;* [[การบวกเวกเตอร์]]: การบวกของสนามเวกเตอร์สองสนามย่อมได้สนามเวกเตอร์: <math>\bold{v}_1 + \bold{v}_2</math>;
;* [[ผลคูณจุด]]: การคูณของสนามเวกเตอร์สองสนามย่อมได้สนามสเกลาร์: <math>\bold{v}_1 \cdot \bold{v}_2</math>;
;* [[ผลคูณไขว้]]: การคูณของสนามเวกเตอร์สองสนามย่อมได้สนามเวกเตอร์: <math>\bold{v}_1 \times \bold{v}_2</math>;
 
นอกจากนี้ยังมีอีกสองผลคูณสามเท่า:
;[[การคูณสเกลาร์]]: การคูณของสนามสเกลาร์และสนามเวกเตอร์ย่อมได้สนามเวกเตอร์: <math>a \bold{v}</math>;
;[[การบวกเวกเตอร์]]: การบวกของสนามเวกเตอร์สองสนามย่อมได้สนามเวกเตอร์: <math>\bold{v}_1 + \bold{v}_2</math>;
;[[ผลคูณจุด]]: การคูณของสนามเวกเตอร์สองสนามย่อมได้สนามสเกลาร์: <math>\bold{v}_1 \cdot \bold{v}_2</math>;
;[[ผลคูณไขว้]]: การคูณของสนามเวกเตอร์สองสนามย่อมได้สนามเวกเตอร์: <math>\bold{v}_1 \times \bold{v}_2</math>;
 
นอกจากนี้ยังมีอีกสองผลคูณสามเท่า:
 
[[หมวดหมู่:แคลคูลัส]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}