ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มินะทอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
เมื่อเสวยราชย์ในเกาะครีตแล้ว พระเจ้าไมนอสต้องทรงแย่งชิงอำนาจการปกครองกับพระเชษฐาและพระอนุชาเนือง ๆ จึงทรงวอนขอให้[[โพไซดอน]] (Poseidon) ประทาน[[วัวแห่งครีต|โคเผือก]]เพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าเทพยดาสนับสนุนพระองค์ แล้วพระเจ้าไมนอสจะได้ทรงสังหารโคนั้นเซ่นสรวงโพโซดอนต่อไป แต่เมื่อได้ทรงรับโคนั้นมาแล้ว ทรงเห็นแก่ความงดงามผ่าเผยของโค จึงหักพระทัยฆ่าโคไม่ลง และเก็บรักษาโคนั้นไว้ แล้วประหารโคเผือกตัวอื่นสังเวยแทน โพโซดอนเมื่อทราบก็โกรธ สั่ง[[แอโฟรไดที]] (Aphrodite) กามเทวี บันดาลให้[[Pasiphaë|พาซีฟาอี]] (Pasiphaë) ชายาพระเจ้าไมนอส หลงรักโคเผือกดังกล่าวอย่างรุนแรง
 
นางพาซีฟาอีมีเสาวนีย์ให้เดดาลัสแกะสลักโคไม้ขึ้นตัวหนึ่ง ภายในเป็นช่องโปร่ง ภายนอกเอาหนังโคคลุมไว้ ตกแต่งดังโคจริง แล้วนางไต่เข้าไปในช่องเพื่อสวมโคไม้นั้น แล้วสมจรให้โคเผือกมาสมจรด้วยจนตั้งครรภ์ และให้กำเนิดอสุรกายมิโนทอร์ นางพาซีฟาอีเลี้ยงดูบุตรเป็นอย่างดี แต่ครั้นมิโนทอร์เติบใหญ่ขึ้นทอร์เติบใหญ่ ก็เริ่มสำแดงวิสัยเดรัจฉาน จับข้าราชบริพารกินเป็นเครื่องยังชีพ ขณะที่พระเจ้าไมนอสจึงทรงปริวิตก ขณะอยู่นั้น ปุโรหิตแห่งนครเมือง[[Delphi|เดลไฟ]] (Delphi) ถวายคำทูลแนะนำว่า ให้จำขังโคมิโนทอร์ไว้ในวงกต จึงมีพระบัญชาให้เดดาลัสสร้างขึ้นไว้ริมพระตำหนักในตำบล[[นอสซอส]] (Knossos)
 
งานเขียนทั่วไปในทางวรรณกรรมและกามวิสัยมุ่งพรรณนาการร่วมประเพณีระหว่างนางพาซีฟาอีและโคเผือกโดยอาศัยโคไม้ มีกวีนิพนธ์เรื่อง ''[[Heroides|เอพิสตูลีเฮโรอิดัม]] (Epistulae Heroidum)'' ของโอวิด เพียงเรื่องเดียวที่ระบุไว้เป็นอื่น โดยพรรณนาเหตุการณ์นี้ไว้สั้น ๆ ในตอนที่ธิดาองค์หนึ่งของนางพาซีฟาอีพร่ำบ่นถึงมารดาที่หลงรักโคเผือกอยู่ฝ่ายเดียวว่า "โคนั้นจำแลงเป็นเทวา พาซีฟาอี มารดาข้าตกอยู่ในบ่วงกามแห่งโคนั้น จึงนำมามาซึ่งเสียงก่นด่าและความหนักอกหนักใจ"<ref>Walter Burkert notes the fragment of [[Euripides]]' ''The Cretans'' (C. Austin's frs. 78-82) as the "authoritative version" for the Hellenes.</ref><ref>See R.F. Willetts, ''Cretan Cults and Festivals'' (London, 1962); Pasiphaë's union with the bull has been recognized as a mystical union for over a century: F. B. Jevons ("Report on Greek Mythology" ''Folklore'' '''2'''.2 [June 1891:220-241] p. 226) notes of Europa and Pasiphaë, "The kernel of both myths is the union of the moon-spirit (in human shape) with a bull; both myths, then, have to do with a sacred marriage."</ref>