ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Palmy U-U (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
 
==เทศกาลและประเพณี==
====วันสงกรานต์====
===เทศกาลและประเพณีในประเทศไทย===
====วันสงกรานต์====
{{บทความหลัก|วันสงกรานต์}}
พิธีสงกรานต์ เป็นพิธีกรรมที่เกิดขึ้นในสมาชิกในครอบครัว หรือชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียง แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปสู่สังคมในวงกว้าง และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศนคติ และความเชื่อไป ในความเชื่อดั้งเดิมใช้สัญลักษณ์เป็นองค์ประกอบหลักในพิธี ได้แก่ การใช้น้ำเป็นตัวแทน แก้กันกับความหมายของฤดูร้อน ช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษ ใช้น้ำรดให้แก่กันเพื่อความชุ่มชื่น มีการขอพรจากผู้ใหญ่ การรำลึกและกตัญญูต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับ ในชีวิตสมัยใหม่ของสังคมไทยเกิดประเพณีกลับบ้านในเทศกาลสงกรานต์ นับวันสงกรานต์เป็นวันครอบครัว
===เทศกาลและประเพณีในประเทศญี่ปุ่น===
====เทศกาลม้า====
เทศกาลม้า มีแห่ขบวนม้าประดับอย่างมีสีสัน
====เทศกาลโทริโงเอะจินจะไทไซ====
เทศกาลโทริโงเอะจินจะไทไซ จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่สองตอนกลางคืน มีขบวนแห่ศาลเจ้าที่ใหญ่ที่สุดในโตเกียวเดินแห่ไปตามถนนที่สว่างไสวไปด้วยโคมไฟ จัดขึ้นที่[[ศาลเจ้าโทริโงเอะ]]
====เทศกาลซันโนไซ====
เทศกาลซันโนไซ เป็นเทศกาลใหญ่ใน[[สมัยเอโดะ]] มีการเดินพาเหรดของผู้คนที่แต่งกายสมัยโบราณในวันเสาร์ ที่[[ศาลฮิเอะ]]
====เทศกาลอาซางาโอะอิจิ====
เทศกาลอาซางาโอะอิจิ เป็นเทศกาลตลาดนัดดอกมอร์นิ่งกลอรี่ พ่อค้าแม่ค้าหลายร้อยคนจะมาตั้งแผงขายดอกมอร์นิ่งกลอรี่ ที่[[อิริยะคิชิโบจิน]]
====เทศกาลดวงดาว====
เทศกาลดวงดาว ซึ่งตามตำนานเชื่อกันว่า เป็นวันที่ดาวเจ้าหญิงทอผ้าโคจรข้ามทางช้างเผือกมาพบกับดาวคนเลี้ยงวัวที่เป็นชายคนรัก ในวันนี้ผู้คนจะพากันเขียนคำอธิษฐานลงบนแถบกระดาษ 5 สี แล้วแขวนบนกิ่งไผ่ พอวันรุ่งขึ้นก็จะนำไปลอยน้ำ พร้อมกับพับนกกระเรียนกระดาษประดับในสวน เพื่ออธิษฐานขอพรให้เขียนหนังสือและทำการฝีมือเก่งๆ เทศกาลนี้จะจัดอย่างใหญ่โต โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานทะนะบะตะของเมืองเซนได(Sendai) ในจังหวัดมิยะงิ(Miyagi) และฮิระทสึขะ(Hiratsuka) ในจังหวัดคะนะงะวะ(Kanagawa) ที่มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศมีนักท่องเที่ยวหลั่งไหลไปชมงานกันมากมายจนกลายเป็นจุดส่งเสริมการท่องเที่ยว
====เทศกาลกิอน====
เป็นงานใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุดของ[[เกียวโต]] ย้อนยุคไปในสมัยศตวรรษที่ 9 โดยจะมีขบวนแห่ตกแต่งแบบจีนและดัตซ์สมัยโบราณแห่ไปรอบเมืองตามถนนสายหลัก ไปทางไหนก็จะได้ยินเสียงเครื่องดนตรีที่เรียกว่า “โช” กังวาลมาจากรถขบวนตลอด
 
==ภัยธรรมชาติ==