ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏวังหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''กบฏวังหลวง''' ชื่อเรียกการกบฏที่เกิดขึ้นในวันที่ [[26 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2492]] เกิดขึ้นเมื่อ [[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]] นำกองกำลังส่วนหนึ่งจาก[[ประเทศจีน]]ร่วมกับคณะนายทหารเรือ และอดีต[[เสรีไทย]]กลุ่มหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "ขบวนการ[[ประชาธิปไตย]] 26 กุมภาพันธ์" นำกำลังยึด[[พระบรมมหาราชวัง]]และ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]เป็นกองบัญชาการ (จึงเป็นที่มาของชื่อกบฏในครั้งนี้) ในเวลาประมาณ 16.00 น. โดยเรียกปฏิบัติการครั้งนี้ว่า "แผนช้างดำ-ช้างน้ำ" จากนั้นในเวลา 21.00 น. ประกาศถอดถอน รัฐบาลจอมพล [[ป. พิบูลสงคราม]] และนายทหารชั้นผู้ใหญ่หลายนาย และได้ประกาศแต่งตั้ง นาย[[ดิเรก ชัยนาม]] ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน และแต่งตั้ง พลเรือโท [[สินธุ์ กมลนาวิน]] เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยที่ทั้งนายดิเรกและพล.ร.ท.สินธุ์ มิได้มีส่วนรู้เห็นอันใดกับการกบฏครั้งนี้
 
ในส่วนของนายปรีดีที่หลบหนีออกจากประเทศไปตั้งแต่การ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหารในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490]] ได้แอบเดินทางกลับมาโดยปลอมตัวเป็นทหารเรือและติดหนวดปลอมปะปนเข้ามาพร้อมกับกลุ่มกบฏ แต่มีผู้พบเห็นและจำได้<ref name="ชีวลิขิต">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง=ม.ร.ว.[[เสนีย์ ปราโมช]]
| ชื่อหนังสือ=ชีวลิขิต
| URL= http://www.winbookclub.com/bookdetail.php?bid=2
| จังหวัด=กรุงเทพฯ
| พิมพ์ที่=มูลนิธิ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
| ปี= พ.ศ. 2548
| ISBN=9789749353509
| หน้า=
| จำนวนหน้า= 261
}}
</ref>
ซึ่งความจริงแล้ว ทางฝ่ายรัฐบาลก็รู้ตัวก่อนล่วงหน้าว่าอาจมีเหตุเกิดขึ้นได้ เพราะ จอมพล ป.ก่อนหน้านั้นได้พูดทิ้งท้ายไว้เป็นนัยทาง[[สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย|วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย]]ไว้ถึง 2 ครั้ง เช่น ''"เลือดไทยเท่านั้น ที่จะล้างเมืองไทยให้สะอาดได้"'' และได้ออกประกาศ[[ภาวะฉุกเฉิน|สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ไว้ล่วงหน้าก่อนเกิดเหตุถึง 3 วัน<ref name="ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน"/> รวมทั้งได้มีการฝึกซ้อมรบด้วยกระสุนจริงของ[[ทหารบก]]ที่ตำบลทุ่งเชียงราก [[จังหวัดปทุมธานี]] ซึ่ง[[หนังสือพิมพ์]]ได้ขนานนามการซ้อมรบครั้งนั้นว่า ''"การประลองยุทธ์ที่ตำบลทุ่งเชียงราก"''<ref name="กบฏวังหลวง กับสถานะของปรีดี พนมยงค์"/>
 
ในระยะแรก ฝ่ายกบฏดูเหมือนจะเป็นฝ่ายได้ชัยชนะ เพราะสามารถยึดสถานที่สำคัญและจุดยุทธศาสตร์ไว้ได้หลายจุด แต่ทว่าตกค่ำของคืนวันนั้นเอง ทหารฝ่ายรัฐบาลก็ตั้งตัวติดและสามารถยึดจุดยุทธศาสตร์กลับคืนมาได้ อีกทั้งกองกำลังทหารเรือฝ่ายสนับสนุนกบฏจาก[[ฐานทัพเรือสัตหีบ]]ก็ติดอยู่ที่ท่าน้ำบริเวณคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เพราะน้ำลดขอดเกินกว่าปกติ แพขนานยนต์ไม่สามารถที่จะลำเลียงอาวุธและกำลังคนข้ามฟากไปได้<ref name="กบฏ"/> เมื่อน้ำขึ้นก็เป็นเวลาล่วงเข้ากลางคืน กองกำลังทั้งหมดมาถึงพระนครในเวลา 2 ยาม ถึงตอนนั้นฝ่ายกบฏก็เพลี่ยงพล้ำต่อรัฐบาลแล้ว
ซึ่งความจริงแล้ว ทางฝ่ายรัฐบาลก็รู้ตัวก่อนล่วงหน้าว่าอาจมีเหตุเกิดขึ้นได้ เพราะ จอมพล ป.ก่อนหน้านั้นได้พูดทิ้งท้ายไว้เป็นนัยทาง[[สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย|วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย]]ไว้ถึง 2 ครั้ง เช่น ''"เลือดไทยเท่านั้น ที่จะล้างเมืองไทยให้สะอาดได้"'' และได้ออกประกาศ[[ภาวะฉุกเฉิน|สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ไว้ล่วงหน้าก่อนเกิดเหตุถึง 3 วัน รวมทั้งได้มีการฝึกซ้อมรบด้วยกระสุนจริงของ[[ทหารบก]]ที่ตำบลทุ่งเชียงราก [[จังหวัดปทุมธานี]] ซึ่ง[[หนังสือพิมพ์]]ได้ขนานนามการซ้อมรบครั้งนั้นว่า ''"การประลองยุทธ์ที่ตำบลทุ่งเชียงราก"''<ref name="กบฏวังหลวง กับสถานะของปรีดี พนมยงค์"/>
 
จุดที่มีการปะทะกันระหว่างทหารบกฝ่ายรัฐบาล และทหารเรือฝ่ายกบฏ เช่น [[ถนนวิทยุ]], [[ถนนพระราม 4]], [[ถนนสาทร]], [[สี่แยกราชประสงค์]] มีการยิงกระสุนข้ามหลังคาบ้านผู้คนในละแวกนั้นไปมาเป็นตับ ๆ มีผู้ได้บาดเจ็บและล้มตายมากมายกันทั้ง 2 ฝ่าย<ref name="ชีวลิขิต"/>
ในระยะแรก ฝ่ายกบฏดูเหมือนจะเป็นฝ่ายได้ชัยชนะ เพราะสามารถยึดสถานที่สำคัญและจุดยุทธศาสตร์ไว้ได้หลายจุด แต่ทว่าตกค่ำของคืนวันนั้นเอง ทหารฝ่ายรัฐบาลก็ตั้งตัวติดและสามารถยึดจุดยุทธศาสตร์กลับคืนมาได้ อีกทั้งกองกำลังทหารเรือฝ่ายสนับสนุนกบฏจาก[[ฐานทัพเรือสัตหีบ]]ก็ติดอยู่ที่ท่าน้ำบริเวณคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เพราะน้ำลดขอดเกินกว่าปกติ แพขนานยนต์ไม่สามารถที่จะลำเลียงอาวุธและกำลังคนข้ามฟากไปได้ เมื่อน้ำขึ้นก็เป็นเวลาล่วงเข้ากลางคืน กองกำลังทั้งหมดมาถึงพระนครในเวลา 2 ยาม ถึงตอนนั้นฝ่ายกบฏก็เพลี่ยงพล้ำต่อรัฐบาลแล้ว
 
พล.ต.สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (จอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] - ยศในขณะนั้น) ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการปราบปราม มีการสู้รบกันในเขตพระนครอย่างหนักหน่วง โดย พล.ต.สฤษดิ์เป็นผู้ยิงปืนจาก[[รถถัง]]ทำลาย[[ประตูพระบรมมหาราชวัง|ประตูวิเศษไชยศรี]]ของ[[พระบรมมหาราชวัง]]พังทลายลง จนในที่สุด เวลาเย็นของวันที่ [[27 กุมภาพันธ์]] ทั้ง 2 ฝ่ายก็หยุดยิง เมื่อรัฐบาลสามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้และปราบปรามฝ่ายกบฏได้สำเร็จ นายปรีดี พนมยงค์ เศร้าโศกเสียใจมากกับเหตุการณ์ครั้งนี้ ถึงขนาดจะ[[ฆ่าตัวตาย|ยิงตัวตาย]] เพราะที่ผ่านมานับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองมา ไม่เคยมีการกบฏหรือรัฐประหารครั้งไหนที่จะมีผู้บาดเจ็บล้มตายมากขนาดนี้ แต่ทว่าได้ถูกท่านผู้หญิง[[พูนศุข พนมยงค์]] ภริยาห้ามไว้<ref name="กบฏ">''26 กุมภาพันธ์ 2492 กบฏวังหลวง'', "ย้อนรอยประวัติศาสตร์รัฐประหารไทย". สารคดีทางดีเอ็นเอ็น: 20 พฤศจิกายน 2554</ref> และต้องหลบหนีออกนอกประเทศอีกครั้ง และหลังจากนั้นอีกไม่กี่วัน ได้มีการสังหารบุคคลสำคัญทางการเมืองลงหลายคน เช่น [[บรรจงศักดิ์ ชีพเป็นสุข|พ.ต.อ.บรรจงศักดิ์ ชีพเป็นสุข]] อดีตผู้บัญชาการตำรวจสันติบาลและ [[โผน อินทรทัต|พ.ต.โผน อินทรทัต]] ผู้อำนวยการโรงงานยาสูบและอดีตเสรีไทย รวมทั้ง[[คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492|การสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี]]ที่[[ถนนพหลโยธิน]] กิโลเมตรที่ 11 คือ นาย[[ทองอินทร์ ภูริพัฒน์]], นาย[[ถวิล อุดล]], นาย[[จำลอง ดาวเรือง]] และนาย[[ทองเปลว ชลภูมิ]] ซึ่งเป็นนักการเมืองในสายของนายปรีดี พนมยงค์ เป็นต้น <ref name="ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน">{{อ้างหนังสือ
จุดที่มีการปะทะกันระหว่างทหารบกฝ่ายรัฐบาล และทหารเรือฝ่ายกบฏ เช่น [[ถนนวิทยุ]], [[ถนนพระราม 4]], [[ถนนสาทร]], [[สี่แยกราชประสงค์]] มีการยิงกระสุนข้ามหลังคาบ้านผู้คนในละแวกนั้นไปมาเป็นตับ ๆ มีผู้ได้บาดเจ็บและล้มตายมากมายกันทั้ง 2 ฝ่าย
 
พล.ต.สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (จอมพล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] - ยศในขณะนั้น) ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการปราบปราม มีการสู้รบกันในเขตพระนครอย่างหนักหน่วง โดย พล.ต.สฤษดิ์เป็นผู้ยิงปืนจาก[[รถถัง]]ทำลาย[[ประตูพระบรมมหาราชวัง|ประตูวิเศษไชยศรี]]ของ[[พระบรมมหาราชวัง]]พังทลายลง จนในที่สุด เวลาเย็นของวันที่ [[27 กุมภาพันธ์]] ทั้ง 2 ฝ่ายก็หยุดยิง เมื่อรัฐบาลสามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้และปราบปรามฝ่ายกบฏได้สำเร็จ นายปรีดี พนมยงค์ เศร้าโศกเสียใจมากกับเหตุการณ์ครั้งนี้ ถึงขนาดจะ[[ฆ่าตัวตาย|ยิงตัวตาย]] เพราะที่ผ่านมานับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองมา ไม่เคยมีการกบฏหรือรัฐประหารครั้งไหนที่จะมีผู้บาดเจ็บล้มตายมากขนาดนี้ แต่ทว่าได้ถูกท่านผู้หญิง[[พูนศุข พนมยงค์]] ภริยาห้ามไว้<ref>''26 กุมภาพันธ์ 2492 กบฏวังหลวง'', "ย้อนรอยประวัติศาสตร์รัฐประหารไทย". สารคดีทางดีเอ็นเอ็น: 20 พฤศจิกายน 2554</ref> และต้องหลบหนีออกนอกประเทศอีกครั้ง และหลังจากนั้นอีกไม่กี่วัน ได้มีการสังหารบุคคลสำคัญทางการเมืองลงหลายคน เช่น [[บรรจงศักดิ์ ชีพเป็นสุข|พ.ต.อ.บรรจงศักดิ์ ชีพเป็นสุข]] อดีตผู้บัญชาการตำรวจสันติบาลและ [[โผน อินทรทัต|พ.ต.โผน อินทรทัต]] ผู้อำนวยการโรงงานยาสูบและอดีตเสรีไทย รวมทั้ง[[คดีสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี พ.ศ. 2492|การสังหาร 4 อดีตรัฐมนตรี]]ที่[[ถนนพหลโยธิน]] กิโลเมตรที่ 11 คือ นาย[[ทองอินทร์ ภูริพัฒน์]], นาย[[ถวิล อุดล]], นาย[[จำลอง ดาวเรือง]] และนาย[[ทองเปลว ชลภูมิ]] ซึ่งเป็นนักการเมืองในสายของนายปรีดี พนมยงค์ เป็นต้น <ref name="ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง=[[วินทร์ เลียววาริณ]]
| ชื่อหนังสือ=ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน