ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ใน พ.ศ. 2475 คณะราษฎร์ได้ประกาศใช้เพลงชาติมหาชัย ซึ่งประพันธ์เนื้อร้องโดย [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)]] ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นเพลงชาติฉบับที่แต่งทำนองโดยพระเจนดุริยางค์ เมื่อแรกๆ นั้น ได้ใช้คำร้องของขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธ์) ประพันธ์ เป็นเพลงชาติไทยฉบับที่ห้า ใช้เป็นเพลงชาติระหว่างปี พ.ศ. 2475-2477
 
ในปี [[พ.ศ. 2485]] เกิดสงครามมหาเอเซียบูรพา สร้างความเดือดร้อน เกิดภาวะขาดแคลนขึ้นในอุตสาหกรรมทุกระดับ ไม่เว้นแม้แต่ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ฟิล์มเริ่มขาดแคลน ศรีกรุงเลิกทำหนัง เหลือแต่ของรัฐบาลที่มีเนื้อหาปลุกใจให้รักชาติทั้งหมด หนึ่งในหลายเรื่องที่โดดเด่นในปีนั้นคือ '''"บ้านไร่นาเรา"''' ซึ่งท่านทำหน้าที่แต่งเนื้อเรื่องโดยผูกเรื่องราวของชาวนาเข้ากับอุดมการณ์รักชาติ ที่สอดคล้องกับนโยบายการบริหารประเทศของ [[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]ผู้นำประเทศ ในสมัยนั้น รวมทั้งเพลงประกอบอมตะ "บ้านไร่นาเรา" โดย[[พระเจนดุริยางค์]] ประพันธ์ทำนองในแนวของความขยันขันแข็งในการทำงาน บ้านเมืองอุดมสมบูรณ์ และเป็นเพลงที่ [[สำนักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ]] ยกย่องเป็น [[เพลงลูกทุ่ง]] เพลงแรกในงานวันเพลงลูกทุ่ง
 
ช่วงนี้ยังได้ประพันธ์บทละครเวทีอมตะเรื่อง "[[ศรอนงค์]]" จัดแสดงโดยคณะละครของ[[พระนางเธอลักษมีลาวัณ]] พระชายาใน[[รัชกาลที่ 6]] ซึ่งทรงดำริให้เป็นมรหสพเพื่อบำรุงขวัญกำลังใจของประชาชนในภาวะเงียบเหงายามสงคราม ที่[[ศาลาเฉลิมไทย]] ละครและเพลงประกอบยังคงได้รับความนิยม เป็นละครทางทีวีและรีวิวเพลงจนทุกวันนี้
เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ยุติ ได้ทำภาพยนตร์ อีกครั้งในปี [[พ.ศ. 2495]] เรื่อง '''"ทะเลรัก"''' อำนวยการสร้างโดย นาย [[เสวตร์ เปี่ยมพงศ์สานต์]] ปีถัดมาได้สร้างภาพยนตร์จากนวนิยายชื่อเดียวกัน ที่ประพันธ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2469 เรื่อง '''"วารุณี"''' ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องเป็นภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตรบันทึกเสียงลงในฟิล์ม ประสบความสำเร็จพอสมควร หลังจากนั้นได้พักงานภาพยนตร์ยาวนานถึง 16 ปี
 
เมื่อหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ยุติ ได้ประพันธ์เรื่องเพื่อทำภาพยนตร์ อีกครั้งในปี [[พ.ศ. 2495]] เรื่อง '''"ทะเลรัก"''' อำนวยการสร้างโดย นาย [[เสวตร์ เปี่ยมพงศ์สานต์]] ปีถัดมาได้สร้างภาพยนตร์จากนวนิยายชื่อเดียวกัน (ที่ประพันธ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2469) เรื่อง '''"วารุณี"''' ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องเป็นภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตรบันทึกเสียงลงในฟิล์ม ประสบความสำเร็จพอสมควร หลังจากนั้นได้พัก งานภาพยนตร์ยาวนานถึงประพันธ์อีกเรื่องเป็นบทละครประกอบเพลงทางไทยทีวี[[ช่อง 164]] ปีเรื่อง "มาร์โคโลกับคุบไบลข่าน" นำแสดงโดย [[อารีย์ นักดนตรี]] คู่กับ [[กำธร สุวรรณปิยะศิริ]] ซึ่งรับบทนำครั้งแรก พ.ศ. 2502<ref>อารีย์ นักดนตรี ,โลกมายาของอารีย์ ,กายมารุต 2546 ISBN:976-91018-4-7 หน้า 214-224</ref>
พ.ศ. 2514 ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง กลับมาสร้างหนังซาวด์ออนฟิล์มอีกครั้ง (ท่ามกลางกระแสนิยมการสร้างหนังสโคป เสียงพากย์ในฟิล์ม) และได้เชิญเป็นผู้กำกับการแสดงเรื่อง ''กลัวเมีย (สร้างใหม่ )'' ก่อนปิดกิจการถาวรในปีต่อมา
 
พ.ศ. 2514 ภาพยนตร์เสียงศรีกรุง กลับมาสร้างหนังซาวด์ออนฟิล์มอีกครั้ง (ท่ามกลางกระแสนิยมการสร้างหนัง 16 มม. และหนังสโคป เสียงพากย์ในฟิล์ม) และได้เชิญเป็นผู้กำกับการแสดงเรื่อง ''กลัวเมีย (สร้างใหม่ )'' ก่อนปิดกิจการถาวรในปีต่อมา
 
นับแต่นั้นก็มิได้เกี่ยวข้องกับงานภาพยนตร์อีกเลย จนวาระสุดท้ายของชีวิต เมื่อวันที่ [[2 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2523]] มีอายุได้ 83 ปี
เส้น 66 ⟶ 68:
=== ภาพยนตร์ ===
* รบระหว่างรัก (2474) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง (หนังเงียบ)
* หลงทาง (2475) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง / ประพันธ์เพลง
* ท้าวกกขนาก (2475) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง (หนังเงียบ)
* ปู่โสมเผ้าทรัพย์[[หลงทาง]] (24762475) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง / ประพันธ์และเพลง
* เลือดทหารไทย[[ปู่โสมเฝ้าทรัพย์]] (24782476) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง / ประพันธ์และเพลง
* หลงทาง[[เลือดทหารไทย]] (24752478) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง / ประพันธ์และเพลง
* พญาน้อยชมตลาด (2478) ประพันธ์เพลง
* เมืองแม่หม้าย (2478) ประพันธ์เพลง
* [[เพลงหวานใจ]] (2480) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง/ประพันธ์และเพลง
* บ้านไร่นาเรา (2485) ประพันธ์เรื่อง / ประพันธ์และเพลง
* ทะเลรัก (2495) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง
* วารุณี (2496) กำกับ / ประพันธ์เรื่อง
* [[กลัวเมีย]] (2514) กำกับ
 
===ละคร===
* [[ศรอนงค์]] (ประพันธ์เรื่องและเพลง ละครเวทีคณะของ[[พระนางเธอลักษมีลาวัณ]] ช่วงสงครามมหาเอเซียบูรพา พ.ศ. 2484-2486)
* มาร์โคโปโลกับคุบไบลข่าน (ประพันธ์เรื่องและเพลง ละครไทยทีวี[[ช่อง 4 บางขุนพรหม]] พ.ศ. 2502)
 
=== บทเพลง ===
[[ไฟล์:Sheet music of the Siamese National Anthem (1934).jpg|thumb|เพลงชาติสยามฉบับราชการ พ.ศ. 2477 (บทร้อง 2 บทแรกประพันธ์โดยขุนวิจิตรมาตราเมื่อ พ.ศ. 2475 และได้แก้ไขเพิ่มเติมสำหรับเข้าประกวดเพลงชาติฉบับราชการในปี พ.ศ. 2476)]]
ขุนวิจิตรมาตรา ยังมีผลงานการแต่ง เพลงประกอบ ซึ่งส่วนใหญ่ขุนวิจิตรมาตราจะรับหน้าที่ในการประพันธ์คำร้องมากกว่า บทเพลงหลายเพลงที่ท่านแต่ง มักได้รับความนิยม อย่างต่อเนื่องแม้ ภาพยนตร์เรื่องนั้น ๆ จะออกจากโรงไปแล้ว
* เพลงบวงสรวง (จากภาพยนตร์เรื่อง "เมืองแม่หม้าย" - พ.ศ. 2470)
* เพลงกุหลาบหอม (ขึ้นพลับพลา) (จากภาพยนตร์เรื่อง "หลงทาง" - พ.ศ. 2474)
* เพลงบัวบังใบ (จากภาพยนตร์เรื่อง "หลงทาง" - พ.ศ. 2474)
* เนื้อร้อง[[เพลงชาติไทย|เพลงชาติสยาม]] พ.ศ. 2475 (ทำนองโดย[[พระเจนดุริยางค์]])
* เพลงลาทีกล้วยไม้ (จากภาพยนตร์เรื่อง "ปู่โสมเฝ้าทรัพย์" - พ.ศ. 2476)
* เพลงกุหลาบในมือเธอ (จากภาพยนตร์เรื่อง "เลือดทหารไทย" - พ.ศ. 2477)
* เพลงประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ทำนองมอญดูดาว พ.ศ. 2477)
* เพลงเธอใกล้หรือไกล (จากภาพยนตร์เรื่อง "เพลงหวานใจ" - พ.ศ. 2480)
* เพลงบ้านไร่นาเรา (จากภาพยนตร์ชื่อเรื่องเดียวกัน - พ.ศ. 2485)
* ศรอนงค์ (ละครเวที-โทรทัศน์ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง - ปัจุจุบัน)
ฯลฯ
 
=== หนังสือ ===
เส้น 105 ⟶ 113:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{tfdb|03255}}
* [http://thaifilm.com/articleDetail.asp?id=49 ขุนวิจิตรมาตรา หรือ สง่า กาญจนาคพันธุ์ (ผู้กำกับภาพยนตร์รุ่นบุกเบิก)] มูลนิธิหนังไทย