ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาครา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sry85 ย้ายหน้า อัครา ไปยัง อัคระ: จากพจนานุกรมชื่อภูมิศาสตร์สากล หน้า 12
แทนที่ "อัครา" → "อัคระ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox settlement
| name = อัคราอัคระ
| native_name = आगरा
| native_name_lang = hi
บรรทัด 7:
| image_skyline = Taj Mahal 2012.jpg
| image_alt =
| image_caption = [[ทัชมาฮาล]]ในเมืองอัคราอัคระ
| nickname = อัคบาราบัด (Akbarabad)
| map_alt =
บรรทัด 29:
| subdivision_name1 = [[รัฐอุตตรประเทศ|อุตรประเทศ]]
| subdivision_type2 = อำเภอ
| subdivision_name2 = [[อำเภออัคราอัคระ|อัคราอัคระ]]
| established_title = <!-- Established -->
| established_date =
บรรทัด 60:
}}
 
'''อัคราอัคระ''' ({{IPAc-en|audio=Agra.ogg|ˈ|ɑː|ɡ|r|ə}}; {{lang-hi|आगरा}} ''Āgrā'', {{lang-ur|{{Nastaliq|آگرہ}}}}, {{lang-en|Agra}}) อดีต[[เมืองหลวง]]ของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "[[ฮินดูสถาน]]" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของ[[ประเทศอินเดีย]] ใน[[รัฐอุตตรประเทศ]] ตั้งอยู่ห่างจากเมือง[[ลัคเนา]] (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของ[[รัฐอุตตรประเทศ]]ไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง {{convert|363|km|mi|0}} และ {{convert|200|km|mi|0}} ทางทิศใต้ของกรุง[[นิวเดลี]] เมืองอัคราระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ. 2010) ถือเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดใน[[รัฐอุตตรประเทศ]] และอันดับที่ 19 ใน[[ประเทศอินเดีย]].<ref name="WorldGazetteerCities">World Gazetteer online [http://www.world-gazetteer.com/wg.php?x=&men=gcis&lng=en&dat=32&geo=-104&srt=npan&col=aohdq&pt=c&va=&srt=pnan India: largest cities and towns and statistics of their population]". Accessed 25 March 2010.</ref> '''อัคราอัคระ''' นั้นยังใช้เป็นชื่อของเขตอำเภอ (District) ซึ่งเมืองอัคราระนั้นตั้งอยู่
 
'''อัคราอัคระ'''นั้นเคยถูกกล่าวถึงใน[[มหากาพย์]][[มหาภารตะ]] (Mahābhārata) โดยถูกเรียกว่า "อัครีวณา" (Agrevana) แปลตามศัพท์สันสกฤตว่า "นครชายป่า"<ref>{{cite web|url=http://www.sanskrit-lexicon.uni-koeln.de |title=Sanskrit-English Dictionary |accessdate=2009-11-08 |last=Williams |first=Monier |work=Cologne Digital Sanskrit Dictionaries |publisher=Cologne University }}</ref> และยังเกี่ยวข้องกับพระฤๅษีอังคีรส หนึ่งในสิบมหาฤๅษีของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แต่ถ้าพูดถึงการสร้างเป็นเมืองนั้น ตำนานกล่าวว่าเกิดขึ้นในสมัยเจ้าเชื้อสายราชบุตรชื่อ “ราชปฎลสิงห์” (Raja Badal Singh) เมืองนี้เคยผ่านสมรภูมิครั้งใหญ่ๆ เมื่อราวหนึ่งพันปีก่อน มีการเปลี่ยนผู้ครองเมืองเป็นระยะ กษัตริย์องค์แรกที่ย้ายเมืองหลวงจากเดลีไปยังอัคราระได้แก่ "สุลต่านสิกันดร โลดิ" (Sultan Sikandar Lodi) เมื่อ [[ค.ศ. 1506]] (ยุคกรุงศรีอยุธยา ก่อนเสียกรุงครั้งที่ 1) จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในปี[[ค.ศ. 1517]] "สุลต่านอิบราฮิม โลดิ" (Ibrahim Lodi) พระโอรส ปกครองอัคราระต่อมาอีก 9 ปีจนกระทั่งพ่ายแพ้ในยุทธการแห่งปณิปัต (Battle of Panipat) ในปี [[ค.ศ. 1526]].<ref>{{cite web|url=http://asi.nic.in/asi_monu_whs_agrafort.asp |title=Agra Fort |accessdate=2009-11-08 |publisher=Archaeological Survey of India | archiveurl= http://web.archive.org/web/20091203060952/http://www.asi.nic.in/asi_monu_whs_agrafort.asp| archivedate= 3 December 2009 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref> จากนั้นมาระหว่างปีค.ศ. 1540 ถึงค.ศ. 1556 เจ้าเชื้อสายอัฟกานิสถานได้เข้าปกครองเมืองแทนเริ่มจากเจ้าเชอร์ชาห์สุรี (Sher Shah Suri) และเจ้าเหมจันทร์วิกรมทิตย์ (Hem Chandra Vikramaditya) ราชาแห่งชาวฮินดู ก่อนที่จะเริ่มโด่งดังในฐานะเมืองหลวงของ[[จักรวรรดิโมกุล]] อันยาวนานตั้งแต่ปี[[ค.ศ. 1556]] ถึง[[ค.ศ. 1658]] อันเป็นช่วงกำเนิดของโบราณสถานสำคัญในปัจจุบัน อาทิเช่น [[ทัชมาฮาล]] (Taj Mahal) [[ป้อมอัคราอัคระ]] (Akra Fort) และ[[ฟาเตห์ปูร์ สิครี]] (Fatehpur Sikri) ซึ่งโบราณสถานโมกุลทั้งสามแห่งนี้ได้ถูกยกขึ้นเป็น[[มรดกโลก]] โดย[[องค์การยูเนสโก]]
 
 
==สภาพภูมิอากาศ==
อัคราระตั้งอยู่ในเขต[[ภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง]] (Semiarid climate) ประกอบด้วยฤดูหนาวที่ไม่รุนแรง ร้อนและแห้งแล้งในฤดูร้อน และฤดูมรสุม ซึ่งในฤดูมรสุมนั้น ในบริเวณเมืองอัคราอัคระ จะไม่มีลมมรสุมที่แรงเหมือนในส่วนอื่นๆของประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของภูมิอากาศแบบนี้ ตรงข้ามกันกับภูมิอากาศส่วนใหญ่ของอินเดีย ซึ่งเป็น[[ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น]] (Humid subtropical climate)
 
{{Weather box
|location = เมืองอัคราอัคระ [[รัฐอุตตรประเทศ]] [[ประเทศอินเดีย]]
|metric first = Yes
|single line = Yes
บรรทัด 129:
 
==ลักษณะประชากร==
จากการสำรวจประชากรในปีค.ศ. 2011 เมืองอัคราระประกอบด้วยประชากรทั้งสิ้น 1,775,134 คน และในเขต[[อำเภออัคราอัคระ]]จำนวน 3,620,436 คน โดยมีประชากรชายเฉลี่ยร้อยละ 53 และหญิงร้อยละ 47 ประชากรในอัคราระมีอัตราการรู้หนังสือร้อยละ 81 ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศอินเดียซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 59.5 เฉพาะประชากรชายนั้นเฉลี่ยที่ร้อยละ 86 ซึ่งถือว่าแตกต่างค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประชากรหญิง ในเขตอำเภออัคราอัคระ มีอัตราการรู้หนังสือเฉลี่ยร้อยละ 62.56
{{bar box
|title= การนับถือศาสนา
บรรทัด 145:
}}
 
ศาสนาหลักของเมืองอัคราอัคระ ประกอบด้วย [[ศาสนาฮินดู]] ร้อยละ 81.6 [[ศาสนาอิสลาม]] ร้อยละ 15.5 [[ศาสนาเชน]] ร้อยละ 1.4 และอื่นๆ อีกร้อยละ 1.5
 
จำนวนประชากรของอัคราระร้อยละ 52.5 นั้นอยู่ในวัย 15-59 ปี อีกร้อยละ 11 นั้นอยู่ในกลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า 6 ปี
==ประวัติ==
ถึงแม้ประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ของอัคราระนั้นมักจะถูกรับรู้ว่ามีความเกี่ยวพันกับ[[จักรวรรดิโมกุล]] แต่แท้จริงแล้วเมืองอัคราระนั้นเริ่มเกิดขึ้นก่อนหน้านั้น โดยมีความเกี่ยวโยงกับประวัติศาสตร์อินเดียสมัย[[มหาภารตะ]] ในปี[[ค.ศ. 1000]]
 
เป็นที่ยอมรับกันว่า "สิกันดร โลดิ" สุลต่านแห่งเดลีนั้นเป็นผู้ก่อตั้งอัคราระขึ้นในปี[[ค.ศ. 1504]] หลังจากสิ้นพระชนม์แล้วจึงสืบทอดไปยังพระโอรส "อิบราฮิม โลดี" ซึ่งปกครองสุลต่านเดลีที่อัคราระจนกระทั่งพ่ายสงครามให้กับจักรพรรดิบาบูร์ (Bābar) ในยุทธการแห่งปณิปัต (Battle of Panipat) ในปีค.ศ. 1526
 
ต่อมาในปี[[ค.ศ. 1556]] กษัตริย์นักรบแห่งชาติฮินดู "เจ้าเหมจันทร์วิกรมทิตย์" (Hem Chandra Vikramaditya) ได้เอาชนะสุลต่านและจอมทัพของแคว้นอัคราอัคระ สุลต่านเอดิลชาห์สุรี (Adil Shah Suri) สุลต่านองค์สุดท้ายของ[[ราชวงศ์สุรี]] (ชาวอัฟกัน) เนื่องจากผู้บัญชาการกองทัพของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิหุมายุน]] (Humayun) แห่ง[[ราชวงศ์โมกุล]] คือ "ทาร์ดี เบ็ก คาน" (Tardi Beg Khan) ได้ยอมล่าถอยทัพออกจากอัคราระด้วยความเกรงกลัวในพระบรมราชานุภาพของเจ้าเหมจันทร์วิกรมทิตย์ ถอยทัพโดยปราศจากการต่อสู้ ซึ่งครั้งนี้ถือเป็นชัยชนะครั้งที่ 21 ของกองทัพฝั่งฮินดู ภายใต้การนำทัพของพระองค์ตั้งแต่ปี[[ค.ศ. 1554]] จากนั้นได้เสด็จไปตีเมือง[[เดลี]] และมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่ป้อมปุรานา หิรา (Purana Qila) ในกรุง[[เดลี]] เมื่อ [[7 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1556]] และได้ฟื้นฟูอาณาจักรฮินดูขึ้นใหม่ปกครองแคว้นอินเดียตอนเหนือโดย[[ราชวงศ์วิกรมทิตย์]]
 
ยุคทองของอัคราระนั้นเริ่มขึ้นในสมัยที่ปกครองโดย[[ราชวงศ์โมกุล]] โดยรู้จักกันดีในสมัยนั้นว่า "อัคบาราบัด" และเป็น[[เมืองหลวง]]ของ[[จักรวรรดิโมกุล]]ภายใต้การปกครองของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอักบัร]] [[สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์]] และ[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] และต่อมา[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] ทรงย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่ "ชาห์ชะฮันนาบัด" (Shahjahanabad) ในปี[[ค.ศ. 1649]]
 
เนื่องจากที่อัคบาราบัดนี้เป็นเมืองที่สำคัญที่สุดในอินเดียภายใต้[[จักรวรรดิโมกุล]] จึงมีการสร้างสิ่งปลูกสร้างสำคัญมากมาย [[สมเด็จพระจักรพรรดิบาบูร์]] ผู้สถาปนาราชวงศ์โมกุล ได้วางแบบแผนสวนแบบเปอร์เซียในบริเวณริมฝั่งของ[[แม่น้ำยมุนา]] สวนนี้มีชื่อว่า "อารัม บักห์" (Arām Bāgh) แปลว่า สวนแห่งความผ่อนคลาย พระราชนัดดาของพระองค์ ซึ่งต่อมาคือ [[สมเด็จพระจักรพรรดิอักบัร]] ได้สร้าง[[ป้อมอัคราอัคระ|ป้อมปราการสีแดง]]ขึ้นมา นอกจากนั้นยังทำให้อัคราระเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ศิลปะ การค้า และศาสนา ในรัชสมัยของพระองค์ยังมีการสร้างเมืองแห่งใหม่บริเวณปริมณฑลของอัคราระที่มีชื่อว่า "[[ฟาเตห์ปูร์ สิครี]]" ซึ่งสร้างในรูปแบบของป้อมค่ายทหารซึ่งสร้างจากหิน
 
พระโอรสของพระองค์ ซึ่งต่อมาคือ [[สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์]] ทรงเป็นผู้โปรดปรานสวน พืชพันธุ์ และต้นไม้ต่างๆ จึงพบการเพิ่มเติมบริเวณสวนภายในป้อมอัคราอัคระ [[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] จักรพรรดิองค์ถัดมา ทรงเป็นผู้โปรดปรานและมีพระปรีชาสามารถทาง[[สถาปัตยกรรม]]อย่างยิ่ง ซึ่งได้มอบมรดกชิ้นสำคัญของอัคราอัคระ คือ ทัชมาฮาล ที่สร้างขึ้นจากความรักและความทรงจำของพระมเหสีของพระองค์ ซึ่งสร้างเสร็จสมบูรณ์ในปี[[ค.ศ. 1653]]
 
[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] ภายหลังนั้นได้ย้ายเมืองหลวงกลับไปที่กรุงเดลี แต่พระโอรสของพระองค์ [[สมเด็จพระจักรพรรดิออรังเซพ|ออรังเซพ]] ได้ย้ายกลับไปที่อัคบาราบัด โดยจับคุมตัวองค์จักรพรรดิไว้ในป้อมจนสวรรคต ซึ่งอัคบาราบัดก็ยังเป็นเมืองหลวงในขณะนั้นจน[[สมเด็จพระจักรพรรดิออรังเซพ]] ได้ย้ายเมืองหลวงไปที่ "ออรังกาบัด" (Aurangabad) ในเดคคาน เมื่อปี[[ค.ศ. 1653]] จากนั้นต่อมาเป็นยุคปลายของ[[จักรวรรดิโมกุล]] เมืองจึงได้ตกอยู่ในอิทธิพลของชาวมราฐา และถูกเรียกชื่อใหม่ว่า "อัคราอัคระ" ก่อนที่จะตกเป็น[[อาณานิคม]]ของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]] หรือ[[บริติชราช]]
 
==การคมนาคม==
===ทางอากาศ===
สนามบินกองทัพอากาศอัคราอัคระ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเป็นระยะทาง {{convert|12.5|km|0|abbr=on}} ซึ่งถือเป็นสนามบินสังกัดกองทัพอากาศ จึงยังไม่มีสายการบินพาณิชย์เข้าใช้ ตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 2012 เมือง[[พาราณสี]]ได้มีสนามบินที่เริ่มให้บริการการบินเชิงพาณิชย์ระหว่างเมือง
 
===ทางรถไฟ===
อัคราระนั้นตั้งอยู่ตรงกลางเส้นทางรถไฟสายภาคกลางที่เชื่อมระหว่าง[[เดลี]] (รหัสสถานี: NDLS) และ[[มุมไบ]] (บอมเบย์) (รหัสสถานี: CSTM) และระหว่างเดลี กับ[[เจนไน]] (รหัสสถานี: MAS) และนอกจากนั้นยังมีรถไฟสายอื่นๆ อาทิเช่น Bhopal Shatabdi, Bhopal Express, Malwa Express, Gondwana Express, Jabalpur - Jammutawi Express, Shreedham Express, Garib Rath, Tamil Nadu Express, Chennai Rajdhni ฯลฯ ที่เชื่อมอัคราระเข้ากับเมืองสำคัญอื่นๆของประเทศอินเดีย เช่น [[นิวเดลี]] [[มุมไบ]] [[โกลกาตา]] [[เจนไน]] [[ไฮเดอราบาด (ประเทศอินเดีย)|ไฮเดอราบัด]] [[บังกาลอร์]] [[ปูเน]] [[ลัคเนา]] [[ชัยปุระ]] ฯลฯ ได้ในทุกๆวัน รถไฟสายตะวันออกบางสายจากเดลีนั้นยังเชื่อมต่อผ่านอัคราอัคระ จึงสามารถใช้เป็นจุดต่อรถเพื่อไปต่อยังเมืองต่างๆทางฟากตะวันออกของอินเดียได้ (เช่น [[โกลกาตา]] เป็นต้น) ซึ่งในทุกๆวันจะมีรถไฟมุ่งหน้าสู่[[เดลี]]ถึงวันละ 20 เที่ยว เมืองอัคราระมีสถานีรถไฟสำคัญทั้งหมด 3 สถานีหลัก:
 
* '''สถานีรถไฟอัคราอัคระ คันท์''' (Agra Cantt) (รหัสสถานี: AGC) เป็นสถานีหลักที่สำคัญที่สุดในอัคราอัคระ ตั้งอยู่ทาง[[ทิศตะวันตกเฉียงใต้]]ของ[[ทัชมาฮาล]] และ[[ป้อมอัคราอัคระ]] ซึ่งสามารถเดินทางมาได้จากสถานที่ดังกล่าวเป็นระยะทางสั้นๆเท่านั้น
* '''สถานีรถไฟป้อมอัคราอัคระ''' (Agra Fort Railway Station) (รหัสสถานี: AF) ตั้งอยู่ใกล้ๆบริเวณป้อมอัคราอัคระ แต่มักจะไม่ได้ใช้สำหรับรถไฟสายระหว่างเมือง สถานีแห่งนี้จัดเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศ ใช้สำหรับรถไฟสายตะวันออก (เช่น [[กานปุระ]] [[โคราฆปุระ]] [[โกลกาตา]] เป็นต้น) และสายภาคกลาง (เช่น [[นักดา]] [[โกตา]]) บางสายนั้นอาจจะหยุดที่สถานีสถานีรถไฟอัคราอัคระ คันท์
* '''สถานีรถไฟราชคิมันดิ''' (Raja Ki Mandi) (รหัสสถานี: RKM) เป็นสถานีรถไฟขนาดเล็ก รถไฟบางสายนั้นอาจจะหยุดที่สถานีสถานีรถไฟอัคราอัคระ คันท์
 
นอกจากนี้ ยังมีรถไฟท่องเที่ยวที่มีความหรูหราเป็นพิเศษ ได้แก่ '''รถไฟเดอะพาเลซ ออน วีลส์''' (The Palace on Wheels) และ '''เดอะ รอยัล ราชสถาน ออน วีลส์''' (The Royal Rajasthan on Wheels) ซึ่งยังผ่านและหยุดที่อัคราระในระหว่างทริปที่มีความยาวถึงแปดวัน (ไป-กลับ) ระหว่างราชสถานกับอัคราอัคระ
 
===แท็กซี่===
นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการแท็กซี่ได้ตามสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญๆของเมือง โดยสามารถเรียกจากป้ายแท็กซี่ นอกจากนี้ยังมีแท็กซี่แบบจ่ายล่วงหน้า ซึ่งให้บริการจากสถานีรถไฟอัคราอัคระ
(Agra Cantt railway station)
 
==สถานที่น่าสนใจ==
[[ไฟล์:TM from Red Fort.jpg|thumb|200px|right|[[ทัชมาฮาล]] มองจาก[[ป้อมอัคราอัคระ]]]]
 
===ทัชมาฮาล===
{{main|ทัชมาฮาล}}
 
[[ทัชมาฮาล]] นั้นถือเป็นหนึ่งในสิ่งปลูกสร้างที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก เป็นอนุสรณ์สถานแห่งความรักของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]]ที่มีแก่พระมเหสีของพระองค์ คือ พระนาง[[มุมตาซ มหัล]] ถือเป็น[[เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่|หนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก]] และหนึ่งในโบราณสถานที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]] จากทั้งสามแห่งในเมืองอัคราอัคระ
 
[[ไฟล์:Persian prince tomb taj mahal.jpg|thumb|หลุมพระศพของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] คู่เคียงกับพระนาง[[มุมตาซ มหัล]]]]
 
สร้างเสร็จในปี[[ค.ศ. 1653]] โดย[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]]แห่งราชวงศ์โมกุล เพื่อเป็นที่พักพิงหลังสุดท้ายของพระมเหสีของพระองค์ สร้างจากหินอ่อนสีขาว จึงถือได้ว่าเป็นหนึ่งในอนุสรณ์สถานที่สวยงามและมีเสน่ห์ที่สุดใน[[ประเทศอินเดีย]] โดยก่อสร้างได้อย่างสมมาตร ซึ่งกินเวลาถึง 22 ปี (ปีค.ศ. 1630 - ค.ศ. 1652) ด้วยแรงงานกว่า 20,000 คน เพื่อสร้างสรรค์สถานที่แห่งนี้ท่ามกลางภูมิทัศน์ที่ถูกรังสรรค์อย่างสวยงาม โดยสถาปนิกชาวเปอร์เซีย อุซถัด อิซา (Ustād 'Īsā) บนริมแม่น้ำยมนา ซึ่งสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าจากบริเวณ[[ป้อมอัคราอัคระ]] ที่ซึ่ง[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]]ทรงใช้เวลา 8 ปีสุดท้ายของพระชนม์ชีพเฝ้ามอง[[ทัชมาฮาล]] จากการถูกกักขังโดยพระโอรสของพระองค์เอง
 
[[ทัชมาฮาล]]นี้ยังถือเป็นผลงานชิ้นเอกแห่งความสมมาตร และยังมีประโยคจากคัมภีร์[[อัลกุรอาน]]สลักอยู่โดยรอบ และบริเวณยอดของประตู ประกอบด้วย[[โดม]]ขนาดเล็กถึง 22 แห่ง ซึ่งแสดงถึงจำนวนปีที่ใช้สร้าง[[อนุสรณ์สถาน]]แห่งนี้ บริเวณฐานของอาคารหลักเป็น[[หินอ่อน]]สีขาว ซึ่งซ้อนอยู่บนหินทรายซึ่งเป็นฐานชั้นล่างสุด [[หอหลังคาโดม|โดม]]หลังที่ใหญ่ที่สุดวัดเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง {{convert|60|ft|m}} ซึ่งภายใต้นั้นเป็นบริเวณที่ฝังพระศพของพระนาง[[มุมตาซ มหัล]] ซึ่งต่อมาได้มีการสร้างหลุมพระศพของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]]เคียงข้างกัน โดยสมเด็จพระจักพรรดิออรังเซ็บ (Aurangzeb) ซึ่งเป็นบุตรของพระองค์ ภายในอาคารนั้นตกแต่งด้วยงานฝีมืออันวิจิตรฝังอัญมณีต่างๆ
บรรทัด 197:
{{Panorama|image =File:Panoramic View of TajMahal.jpg|caption =วิวแบบพาโนรามาของ[[ทัชมาฮาล]]|height =200}}
 
===ป้อมอัคราอัคระ===
{{main|ป้อมอัคราอัคระ}}
[[ไฟล์:AgraFort.jpg|thumb|right|200px|''ประตูอามาร์ สิงห์ (Amar Singh Gate)'',<br> หนึ่งในสองประตูใหญ่ของป้อมอัคราอัคระ]]
 
 
[[ป้อมอัคราอัคระ]] (บางครั้งเรียก ''ป้อมแดง'') สร้างโดย[[สมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์]] (Akbar) แห่งราชวงศ์โมกุลในปี[[ค.ศ. 1565]] และเป็นอีกสถานที่หนึ่งซึ่งถูกขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ของ[[อัคราอัคระ]] หลักศิลาจารึกที่พบบริเวณประตูทางเข้าระบุว่าป้อมแห่งนี้ถูกสร้างก่อนปี[[ค.ศ. 1000]] และต่อมาได้ถูกบูรณะโดย[[สมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์]] ป้อมที่ทำจาก[[หินทราย]]สีแดงแห่งนี้ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนเป็น[[พระราชวัง]]ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิชาห์ชะฮัน]] และถูกผสมผสานด้วยองค์ประกอบของ[[หินอ่อน]]และการตกแต่งแบบฝังพลอย ที่เรียกว่า "ปิเอตรา ดูร่า" (pietra dura) อาคารหลักๆภายในป้อมอัคราอัคระ ได้แก่ มัสยิดไข่มุก (Moti Masjid) ท้องพระโรง (Dīwān-e-'Ām and Dīwān-e-Khās) พระราชวังพระเจ้าชะฮันคีร์ (Jahangir Palace) ตำหนักมูซัมมัน เบิร์จ (Musamman Burj) เป็นต้น
 
โครงสร้างภายนอกเป็นป้อมปราการอันหนาแน่น ซึ่งทำหน้าที่ปิดบังความงามดุจสวรรค์ที่อยู่ภายใน ป้อมปราการโดยรอบนั้นถูกสร้างในรูปเสี้ยวพระจันทร์ และแบนเรียบขึ้นทางฝั่งทิศตะวันออกซึ่งเป็นกำแพงตรงและยาวขนาบแม่น้ำ มีความยาวเป็นระยะทางรวมทั้งสิ้นถึง {{convert|2.4|km}} และมีกำแพงขนาดใหญ่ซ้อนถึงสองชั้น และมี[[มุขป้อม]]ยื่นออกมาเป็นระยะๆตลอดความยาว และมีคูเมืองขนาดความกว้าง {{convert|9|m}} และลึกถึง {{convert|10|m}} ล้อมรอบกำแพงชั้นนอกอีกชั้นหนึ่ง
 
สมเด็จพระจักรพรรดิศิวจี (Shīvajī) แห่ง[[จักรวรรดิมราฐา]] (Maratha Empire) เคยเสด็จมาภายในป้อมแห่งนี้ที่อาคารท้องพระโรง (Dīwān-i-Khās) เพื่อลงพระนามในสนธิสัญญาปูรันดาร์ (Treaty of Purandar) กับสมเด็จพระจักรพรรดิออรังเซ็บ โดยการคุมตัวของราชบุตรใจสิงห์ (Jai Singh I) ผู้เป็นแม่ทัพของ[[จักรวรรดิโมกุล]] ซึ่งในการเข้าเฝ้าครั้งนั้นพระองค์ถูกจัดที่ประทับบริเวณด้านหลังของผู้มีบรรดาศักดิ์ที่ต่ำกว่า จึงทรงกริ้วอย่างมากเนื่องจากถูกลบหลู่หมิ่นพระเกียรติ และถูกจับกุมโดยราชบุตรใจสิงห์ (Jai Singh I)และคุมขังไว้ที่นั่นเมื่อวันที่ [[12 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1666]] และต่อมาทรงหลบหนีได้สำเร็จเมื่อวันที่ [[17 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1666]] เนื่องจากเกรงว่าจะถูกประหารโดยสมเด็จพระจักรพรรดิออรังเซ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้มีการสร้างอนุสาวรีย์สมเด็จพระจักรพรรดิศิวจี ด้านนอกของ[[ป้อมอัคราอัคระ]] เพื่อแสดงถึงความเด็ดเดี่ยวกล้าหาญของพระองค์
 
[[ป้อมปราการ]]แห่งนี้จัดเป็นผลงานตัวอย่างของ[[สถาปัตยกรรมโมกุล]] ซึ่งเป็นแบบอย่างของ[[ป้อมปราการ]]ของอินเดียตอนเหนือ ซึ่งแตกต่างจากของอินเดียตอนใต้ ซึ่งมักจะสร้างยื่นลงไปในทะเล หรือหน้าผาริมน้ำ อาทิเช่น ป้อมปราการแห่งเบกาล ใน[[รัฐเกรละ]]<ref>{{cite book|last=Koroth|first=Nandakumar|title=History of Bekal Fort}}</ref>
บรรทัด 214:
[[ไฟล์:Audienzhalle .jpg|thumb|''Dīwān-i-Khās'' – ท้องพระโรง(เฉพาะพระองค์) ในฟาเตห์ปูร์ สิครี]]
 
[[จักรพรรดิอักบัร|สมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์]] ได้ทรงมีพระบัญชาให้สร้าง[[ฟาเตห์ปูร์ สิครี]] (Fatehpūr Sikrī) ซึ่งตั้งอยู่ห่างเมืองอัคราระเป็นระยะทาง {{convert|35|km|0|abbr=on}} และต่อมาได้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่นั่น (ในระหว่างปีค.ศ. 1571 ถึงค.ศ. 1585) ในที่สุดก็ได้ทิ้งร้างลงกลับมาที่อัคราระอีกหนหนึ่ง [[ฟาเตห์ปูร์ สิครี]]จึงประกอบด้วยอาคารที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากมาย ซึ่งได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]] โดย[[องค์การยูเนสโก]]
 
ชื่อของสถานที่แห่งนี้ถูกตั้งขึ้นภายหลังที่จักพรรดิบาบูร์ (Bābar) แห่งจักวรรดิโมกุลได้มีชัยชนะต่อราชบุตรราณสังฆ์ (Rana Sanga) ในสถานที่ที่เรียกว่า "สิครี" (Sikrī) ซึ่งห่างจากอัคราระประมาณ {{convert|40|km|0|abbr=on}} ซึ่งต่อมา[[จักรพรรดิอักบัร|สมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์]] ซึ่งเป็นพระนัดดาของจักรพรรดิบาบูร์ (Bābar) มีพระประสงค์จะสร้างที่แห่งนี้เป็นที่ประทับหลักของพระองค์ จึงได้มีการล้อมรอบด้วยปราการขนาดใหญ่ แต่เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนน้ำอย่างหนัก พระองค์จึงต้องย้ายกลับสูนครอัคราอัคระ ที่ป้อมอัคราระอีกครั้งหนึ่ง
 
บูลันด์ ดาร์วาซา (Buland Darwāza) คือ ประตูเมืองที่สร้างโดยพระบัญชาของ[[จักรพรรดิอักบัร|สมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์]] ในปีค.ศ. 1601 ที่[[ฟาเตห์ปูร์ สิครี]] เป็นประตูชัยแก่ชัยชนะของพระองค์ต่ออาณาจักร[[รัฐคุชราต|คุชราต]] ประกอบด้วยขั้นบันไดทั้งหมด 52 ขั้น สูง 53.63 เมตร และกว้าง 35 เมตร สร้างจากหินทรายสีแดง ตกแต่งด้วยงานสลักหินอ่อนสลับสีขาวดำ บริเวณทางเข้าหลักพบหลักศิลาจารึกแสดงให้เห็นถึง"ความใจกว้าง"ของการนับถือศาสนาของพระองค์ ว่าเป็นสาสน์จาก[[พระเยซู]]ถึงสาวกของพระองค์ไม่ให้ยึดติดกับโลกเสมือนบ้านอย่างถาวร
บรรทัด 222:
===อิตมัด-อุด-โดละห์===
{{main|อนุสรณ์สถานอิตมัด-อุด-โดละห์}}
[[ไฟล์:I'timād-ud-Daulah, Agra.jpg|thumb|right|200px|[[อนุสรณ์สถานอิตมัด-อุด-โดละห์]] หรือ "เบบี้ ทัช" แห่งอัคราอัคระ]]
 
พระจักรพรรดินี[[นูร์ ชะฮัน]] (Nūr Jahān) สร้าง[[อนุสรณ์สถานอิตมัด-อุด-โดละห์]] (Itmad-Ud-Daulah's Tomb) เป็นหลุมฝังศพให้แก่พระบิดาของพระองค์ นามว่า "มีร์ซา กียาซ เบค" (Mirza Ghiyas Beg) ซึ่งเป็นรัฐมนตรีระดับสูงคนสำคัญของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์]] ในปัจจุบันเรียกสถานที่แห่งนี้ว่า "เบบี้ ทัช" (Baby Taj) ตั้งอยู่ริมฝั่งด้านซ้ายมือของ[[แม่น้ำยมุนา]] ตัวอาคารตั้งอยู่ในสวนขนาดใหญ่เป็นรูป[[กางเขน]] สลับด้วยทางน้ำไหล และทางเดินต่าง ๆ ตัวอาคารหลักนั้นมีขนาด 23 ตารางเมตร และสร้างบนฐานกว้างขนาดประมาณ 50 ตารางเมตร สูงประมาณ 1 เมตร แต่ละมุมเป็นที่ตั้งของหอคอยทรงหกเหลี่ยมสูงประมาณ 13 เมตร เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับหลุมฝังศพ และหลุมฝังพระศพในยุคสมัย[[จักรวรรดิโมกุล]]นั้นจะถือว่ามีขนาดเล็ก จึงมักถูกเรียกว่าเป็นดั่ง "กล่องอัญมณี" นอกจากนี้ยังพบการจัดสวน การใช้หินอ่อนสีขาว การตกแต่งอินเลย์หินอ่อน (ปิเอตรา ดูร่า) ฯลฯ เป็นตัวอย่างสำคัญของการก่อสร้าง[[ทัชมาฮาล]] ในภายหลัง
บรรทัด 232:
===หลุมฝังพระศพอักบัรมหาราช ที่เมืองสิกันทรา===
{{main|หลุมฝังพระศพจักรพรรดิอักบัร}}
[[ไฟล์:Sikandra 066.JPG|right|thumb|200px|หลุมฝังพระศพจักรพรรดิอักบัร ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองอัคราอัคระ]]
 
เมืองสิกันทรา (Sikandra) ซึ่งเป็นที่ตั้งของหลุมฝังพระศพ[[จักรพรรดิอักบัร|สมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์มหาราช (อักบัรมหาราช)]] แห่งราชวงศ์โมกุล ตั้งอยู่ระหว่างทางบนทางหลวงสายเดลี-อัคราอัคระ เพียง 13 กิโลเมตรจาก[[ป้อมอัคราอัคระ]] การออกแบบหลุมฝังพระศพแห่งนี้นั้นสะท้อนให้เห็นถึงบุคลิกของพระองค์อย่างครบถ้วน สร้างบนบริเวณกว้างขวางท่ามกลางสวนอันร่มรื่น ภายในอาคารอันสวยงามมีหลุมฝังพระศพสร้างจากหินทรายสีเหลือง-แดงที่สลักอย่างวิจิตรพิศดาร ตกแต่งเป็นลายรูป[[กวาง]] [[กระต่าย]] [[ค่างหนุมาน]] โดยว่ากันว่าพระองค์เป็นผู้เลือกสถานที่ตั้งหลุมพระศพของพระองค์เอง โดยถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางศาสนาของ[[ชาวโมกุล]]ที่จะต้องสร้างหลุมฝังศพของตนโดยนำธรรมเนียมมาจาก[[กลุ่มชนเตอร์กิก]] [[สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์]] พระโอรสของพระองค์ได้เป็นผู้สานต่องานก่อสร้างจนสำเร็จในปี[[ค.ศ. 1613]] บน[[โลงหิน]]นั้นยังสลักชื่อ 99 ชื่อของ[[พระอัลเลาะห์]]
 
==อ้างอิง==
บรรทัด 253:
* [[ประเทศอินเดีย]]
* [[รัฐอุตตรประเทศ]]
* [[ป้อมอัคราอัคระ]]
* [[ทัชมาฮาล]]
 
{{เรียงลำดับ|อัคราอัคระ}}
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศอินเดีย]]
[[หมวดหมู่:รัฐอุตตรประเทศ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อาครา"