ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาชากาทาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q36831 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Varlaam (คุย | ส่วนร่วม)
ISBN
บรรทัด 9:
|fam3=ภาษากลุ่มชะกะไต
|iso2=chg
|iso3=chg
}}
 
 
'''ภาษาชะกะไต''' (ภาษาชะกะไต: جغتای ; [[ภาษาตุรกี]]: Çağatayca; [[ภาษาอุยกูร์]]: چاغاتاي Chaghatay; [[ภาษาอุซเบก]]: ﭼىﻐﺎتوي Chig'atoy) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดใน[[เอเชียกลาง]]และบริเวณโคราซาน คำว่า “ชะกะไต” มีความเกี่ยวพันกับเขตของชะกะไตข่านทางตะวันตกของ[[จักรวรรดิมองโกเลีย]]ที่อยู่ในความครอบครองของชะกะไตข่าน ลูกชายคนที่สองของ[[เจงกีสข่าน]] ชาวตุรกีชะกะไตและชาวตาตาร์จำนวนมากที่เคยพูดภาษานี้เป็นลูกหลานที่สืบตระกูลมาจากชะกะไตข่าน
 
== พัฒนาการ ==
 
ภาษานี้พัฒนาระบบการเขียนโดยใช้[[อักษรอาหรับ]] ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาอาหรับ]]และ[[ภาษาเปอร์เซีย]]มาก เคยเป็นภาษากลางในเอเชียกลาง แบ่งได้เป็นสามยุคคือ
# ยุคก่อนคลาสสิก (พ.ศ. 1943 – 2008) เป็นยุคที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาก
เส้น 21 ⟶ 19:
# ยุคหลังคลาสสิก (พ.ศ. 2143 – 2464) เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นสองทาง ทางหนึ่งคืออนุรักษ์ภาษาชะกะไตยุคคลาสสิกโดยโนวอย และอีกทางหนึ่งเป็นการรับอิทธิพลจากภาษาท้องถิ่นอื่นๆเข้ามา
ปัจจุบันในบริเวณที่เคยใช้ภาษาชะกะไต เป็นบริเวณที่ใช้[[ภาษาอุซเบก]]และ[[ภาษาอุยกูร์]] ใน[[อุซเบกิสถาน]] ภาษาชะกะไตถูกแทนที่ด้วยภาษาอุซเบกเมื่อราว พ.ศ. 2464 ผู้พูดภาษาชะกะไตคนสุดท้ายคาดว่าตายเมื่อ พ.ศ. 2533 วรรณคดีภาษาชะกะไตที่มีชื่อเสียงคือบทกวีของ Mir Alisher Navoi จนบางครั้งมีผู้เรียกภาษาชะกะไตว่า ภาษาของโนวอย
 
 
== อ้างอิง ==
* Eckmann, J., Chagatay Manual (Uralic & Altaic): 1997, ISBN-10: 070070860X, ISBN-13: 978-0700708604
* Bodrogligeti, András J. E., A Grammar of Chagatay (Languages of the World/Materials 155): 2001 repr. 2007, ISBN 3-89586-563-X