ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระโพธิสัตว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'จันทาล'→'จัณฑาล'
Jessada H. (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนจาก อนิตย หรือ นิตย เป็น อนิยต และ นิยต
บรรทัด 36:
ส่วน[[พระพุทธโฆสะ]]แบ่งพระโพธิสัตว์ออกเป็น 2 ประเภทคือ<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"/>
 
;'''1. อนิตยโพธิสัตว์อนิยตโพธิสัตว์'''
:พระโพธิสัตว์ที่ยังไม่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาเลย เรียกว่า '''อนิตยโพธิสัตว์อนิยตโพธิสัตว์''' ความหมายคือยังไม่แน่นอนว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะอาจจะเลิกล้มความปรารถนาเมื่อไรก็ได้
 
;'''2. นิตยโพธิสัตว์นิยตโพธิสัตว์'''
:พระโพธิสัตว์ที่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าองค์ก่อนมาแล้ว เรียกว่า '''นิตยโพธิสัตว์นิยตโพธิสัตว์''' ตามความหมายคือจะได้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นนอน เพราะถ้าถึงนิพพานต้องดำรงค์ฐานะเป็นพระพุทธเจ้าอย่างเดียว แต่ถ้าบารมีและเวลายังไม่สมบูรณ์ แม้ว่าจะพยายามปฏิบัติอย่างยิ่งยวดบังเกิดปัญญาอย่างเยียมยอด ก็ไม่สามารถถึงนิพพานก่อนได้ แม้จะทุกข์ท้อแท้ จนคิดว่าเลิกที่จะเป็นพระพุทธเจ้าแล้ว แต่แล้วในที่สุดมหากุศลที่เป็นอนุสัย ก็จะพุ่งกระจายขึ้นมาให้ตั้งมั่นและบำเพ็ญบารมีกันต่อ จนกว่าบารมีและเวลาสมบูรณ์
 
;[[อสงไขย]] และ [[กัป]]
บรรทัด 81:
ดังนั้น จึงรวมเป็นบารมี 30 ทัศ
 
;'''อานิสงส์ บารมี 30 ทัศ ของพระนิตยโพธิสัตว์นิยตโพธิสัตว์'''
 
:พระนิตยนิยตโพธิสัตว์เมื่อได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรก จะมีอานิสงค์ 18 อย่างอยู่ตลอด จนได้ตรัสรู้ เป็นพระพุทธเจ้า ได้แก่
# เมื่อเกิดเป็นมนุษย์ ย่อมไม่เกิดเป็นคนมีจักษุบอดมาแต่กำเนิด
# ไม่เป็นหูหนวกแต่กำเนิด
บรรทัด 109:
=== ธรรมสโมธาน 8 ประการ ===
 
:สำหรับพระโพธิสัตว์ ที่เป็น '''อนิตยโพธิสัตว์อนิยตโพธิสัตว์''' แต่สร้าง'''บารมี 30 ทัศ''' และมี'''ธรรมสโมธาน 8 ประการ'''สมบูรณ์แล้ว ได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกเฉพาะพระพักตร์พุทธเจ้า โดยจะได้รับพุทธพยากรณ์โดยนัยว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ทรงนามว่าอย่างนั้น ในกัปอันเป็นอนาคตที่เท่านั้น และก็จะกลายเป็น '''นิตยโพธิสัตว์นิยตโพธิสัตว์''' ทันที คือเป็นพระโพธิสัตว์ที่เที่ยงแท้ ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นอน
 
;ธรรมสโมธาน 8 ประการคือ
บรรทัด 130:
 
 
:'''อัธยาศัย''' ที่ทำให้พระโพธิญานของนิตยญานของนิยตโพธิสัตว์แก่กล้ายิ่งขึ้น มี 6 ประการ
# '''เนกขัม''' พอใจในการรักษาศีล การบวช หรือบรรพชา
# '''วิเวก''' พอใจอยู่ในที่สงบ