ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาเวสสันดรชาดก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63:
 
== การดัดแปลงในสื่อต่างๆ ==
เรื่องมหาเวสสันดรชาดก ถูกได้รับการนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชา[[พระพุทธศาสนา]] อีกทั้งมีการสร้างเป็นเทป[[ละครโทรทัศน์]] [[ภาพยนตร์]] และ [[สารคดี]] เพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนมานับครั้งไม่ถ้วน โดยเฉพาะละครโทรทัศน์ฉบับปี [[พ.ศ. 2530|พ.ศ. 2530]] ซึ่งสร้างโดย [[มูลนิธิแผ่นดินธรรม]] เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 60 พรรษา ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] ออกอากาศครั้งแรกทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] ใน[[วันเสาร์]]และ[[วันอาทิตย์]] เวลา 18.30 - 19.30 น. ตั้งแต่วันที่ 6 [[ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2529|พ.ศ. 2529]] ถึง 14 [[กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2530|พ.ศ. 2530]] จำนวนทั้งสิ้น 18 ตอน ตอนละ 45 นาที นำแสดงโดย [[ปกรณ์ พรพิสุทธิ์]] รับบทเป็น พระเวสสันดร, [[สราลี กิติยากร|ม.ล. สราลี กิติยากร]] เป็น พระนางมัทรี, [[ไพโรจน์ ใจสิงห์]] เป็น พระเจ้ากรุงสัญชัย, [[ส.อาสนจินดา]] เป็น อัจจุตฤๅษี, [[เสรี หวังในธรรม]] เป็น ชูชก, [[ตุ๊กติ๊ก จินดานุช]] เป็น กัณหา, [[พศิน เรืองวุฒิ|เอราวัต เรืองวุฒิ]] เป็น ชาลี และนักแสดงกิตติมศักดิ์ [[หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์|ม.ร.ว. ถนัดศรี สวัสดิวัตน์]] กำกับการแสดงโดย [[ชาติ รอบกิจ]]
 
นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2539หลังจบละครเรื่อง[[มโหสถชาดก]]แล้ว บริษัทสามเศียรได้ผลิตละครชื่อว่า[[กัณหาชาลี]]ซึ่งเป็นเนื้อเรื่องเดียวกัน ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7