ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Goodguy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Goodguy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
== โครงสร้างของ REIT ==
ขั้นตอนแรก REIT Manager จะต้องยื่นคำขออนุญาตเสนอขายใบทรัสต์กับ [[ก.ล.ต.]] เพื่อให้สามารถจัดตั้ง REIT ได้ เมื่อ ก.ล.ต.อนุมัติ REIT Manager จะเสนอขายใบทรัสต์ผ่านผู้จัดจำหน่าย โดยเงินที่ได้รับจากการขาย REIT จะถูกฝากไว้กับทรัสตี และนำเงินก้อนดังกล่าวไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์<ref name="ทางเลือกการลงทุน"/>
การกำกับดูแล REIT จะมีลักษณะทำนองเดียวกับการกำกับดูแลบริษัทจดทะเบียน เช่น ต้องมีการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีกรรมการอิสระ มีเกณฑ์ที่ให้สิทธิผู้ถือใบทรัสต์คล้ายผู้ถือหุ้น หลักการในการกำกับดูแล REIT จะมีความยืดหยุ่นกว่ากองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ สามารถลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ได้ทุกประเภท โดยต้องมีวัตถุประสงค์ที่จะจัดหาผลประโยชน์เพื่อให้ได้ค่าเช่า แต่ต้องไม่เป็นการเช่าเพื่อทำธุรกิจที่ไม่เหมาะสมหรือผิดกฎหมาย<ref>[http://link.newfundstoday.com/%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%99-reit.html กลต.ไฟเขียว ให้ตั้งกองทุน REIT] ข่าวสารกองทุนรวม ใหม่สด ทุกวัน 16 ตุลาคม 2553</ref>
 
เส้น 9 ⟶ 10:
 
== ความเสี่ยงจากการลงทุน ==
<ref name="ทางเลือกการลงทุน">[http://www.moneyandbanking.co.th/moneytips.php?isb=isb006&newsID=3597 REIT ทางเลือกการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ระดับสากล]การเงินการธนาคาร 22/05/2013</ref>
*ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่อง
*ความเสี่ยงจากปัญหาที่เกิดจากสินทรัพย์ที่นำเงินไปลงทุน