ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอยหลอด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{Taxobox
| color = pink
เส้น 8 ⟶ 7:
| ordo = [[Veneroida]]
| familia = [[Solenidae]]
| genus = ''[[Solen (genus)|Solen]]''
| species = '''''S. regularis'''''
| binomial = ''Solen regularis''
| binomial_authority = [[Dunker]], 1861
}}
 
'''หอยหลอด''' ({{lang-en|Razor clam}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Solen regularis}}) เป็น[[หอยทะเลกาบคู่]] รูปร่างคล้าย[[หลอด]][[กาแฟ]] ความยาว 7-8 ซ.ม.เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซ.ม.เซนติเมตร เปลือกสีน้ำตาลอ่อน เนื้อสีขาวขุ่น ส่วนหัวนิ่ม ส่วนปลายเหนียว ชอบฝังตัวตามแนวดิ่งในตะกอนดินโคลนปนทรายบริเวณปากแม่น้ำที่ชาวบ้านเรียกว่าทรายขี้เป็ด บริเวณที่มีหอยหลอดเป็นจำนวนมากใน[[ประเทศไทย]]คือ [[ดอนหอยหลอด]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] นอกจากที่ดอนหอยหลอดแล้ว ยังอาศัยอยู่ที่ [[จังหวัดเพชรบุรี]], [[จ.จังหวัดสมุทรปราการ]], [[จ.จังหวัดตราด]] รวมไปถึง[[ประเทศอินโดนีเซีย]]และ[[ออสเตรเลีย]]<ref>[http://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=413505 ''Solen regularis'' Dunker, 1862 {{en}}]</ref>
 
การจับหอยหลอดจะใช้ปูนขาวหยอดลงในรู ทำให้หอยโผล่ขึ้นมาให้จับได้ง่าย ช่วงที่เหมาะสำหรับการจับมากที่สุดคือเดือน ม.ค.มกราคม-พ.ค.พฤษภาคม เพราะตอนกลางวันน้ำจะลดลงมาก ทำให้[[สันดอน]]โผล่พ้นน้ำ เนื้อหอยหลอดนำมาประกอบอาหารได้หลายประเภท ทั้งทอดกรอบ ต้มยำ และผัดฉ่า<ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9480000080662 จับจาก“รู” มาสู่เมนูจานเด็ด ชีวิตกลางแจ้งของ“คนหาหอยหลอด” จากผู้จัดการออนไลน์]</ref>
 
{{ขาด==อ้างอิง}}==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:หอยฝาคู่|หลอด]]
{{โครงสัตว์}}