ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ความโดดเด่น (เหตุการณ์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แปลนโยบายเพิ่ม
 
บรรทัด 43:
เกณฑ์การพิจารณาโดยทั่วไป คือ ข้อมูลต้องมีความสำคัญและไม่ใช่ข้อมูลทั่วไป ความลึกของข่าว รวมถึงการวิเคราะห์ที่เสริมเข้าไปในเนื้อหา อย่างเช่น มักพบได้ในหนังสือ บทความยาว ๆ ในหนังสือพิมพ์ข่าวที่สำคัญ และได้รายงานข่าวพิเศษ การรายงานข่าวที่มีใจความสำคัญเพียงเล็กน้อยหรือการให้ข้อมูลไม่มาก มักถือได้ว่าเป็นรายงานข่าวทั่วไป<ref>{{cite journal |last=Cho |first=Jaeho |author=Jaeho Cho |authorlink= |coauthors=Michael P. Boyle, Heejo Keum, Mark D. Shevy, Douglas M. Mcleod, Dhavan V. Shah, Zhongdang Pan |editor1-first= |editor1-last= |editor1-link= |date= |year=2003 |month=September |title=Media, Terrorism, and Emotionality: Emotional Differences in Media Content and Public Reactions to the September 11th Terrorist Attacks |trans_title= |journal=Journal of Broadcasting & Electronic Media |volume=47 |series= |issue= |page= |pages= |at= |publisher= |location= |issn= |pmid= |pmc= |doi= |bibcode= |oclc= |id= |url=http://www.entrepreneur.com/tradejournals/article/109848048.html |language= |format= |archiveurl= |archivedate= |accessdate= |laysummary= |laysource= |laydate= |quote= |ref= |separator= |postscript= }}</ref> ผู้เขียนบทความบางคนอาจเล่าเหตุการณ์ข่าวที่ดูเหมือนข้อมูลปฐมภูมิมากกว่าทุติยภูมิ
 
การรายงานข่าวของสื่อหลาย ๆ สถาบันเกี่ยวกับเหตุการณ์ ในบางครั้งข่าวมีเนื้อหาเหมือน ๆ กักัน ผู้เขียนไม่ควรอาศัยสื่อหลาย ๆ สื่อเพื่อยกประเด็นความโดดเด่นของเหตุการณ์นั้น เนื่องจากจุดประสงค์ของการเขียนเป็นบทความต้องเป็นเหตุการณ์สำคัญ ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณืเหตุการณ์เก่าหรือเหตุการณ์ทั่วไป
 
==== ระยะเวลาการนำเสนอข่าว ====