ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พุทธคยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'ทรงตรัส'→'ตรัส'
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
| Image = [[ภาพ:Mahabodhitemple.jpg|248px]]
| imagecaption = พระมหาโพธิเจดีย์ พุทธสังเวชนียสถานที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ
| Country = [[ตำบลพุทธคยา]] [[อำเภอคยา]] [[จังหวัดมคธ]] [[รัฐพิหาร]] {{IND}}
| Name = วัดมหาโพธิ
| Type = มรดกทางวัฒนธรรม
| Year = 2545
| Criteria = (i) (ii) (iii) (iv) (vi)
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/1056
}}
{{สถานที่สำคัญในพุทธภูมิ}}
'''พุทธคยา''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]]: พุทฺธคยา, [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Bodh Gaya, Mahabodhi Temple, {{lang-hi|बोधगया}}) คือคำเรียกกลุ่มพุทธสถานสำคัญใน [[อำเภอคยา]] [[รัฐพิหาร]] [[ประเทศอินเดีย]] ซึ่งเป็นพุทธสถานที่มีความสำคัญที่สุด 1 ใน 4 แห่ง ของชาวพุทธ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของ'''สถานที่ตรัสรู้ของ[[พระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]''' พุทธ[[สังเวชนียสถาน]]ที่มีความสำคัญที่สุดของชาวพุทธทั่วโลก ปัจจุบันบริเวณพุทธศาสนสถานอันเป็นที่ตั้งของสถานที่ตรัสรู้ของ[[พระพุทธเจ้า]] มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''วัดมหาโพธิ''' อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการร่วม [[พุทธ]]-[[ฮินดู]]
 
'''พุทธคยา''' ปัจจุบันตั้งอยู่ด้านตะวันตกของ[[แม่น้ำเนรัญชรา]] ไกลจากฝั่งแม่น้ำประมาณ 350 [[เมตร]] '' (นับจากพระแท่นวัชรอาสน์) '' พุทธคยามีสัญลักษณ์ที่สำคัญคือองค์เจดีย์สี่เหลี่ยมที่สูงใหญ่ โดยสูงถึง 51 เมตร ฐานวัดโดยรอบได้ 121.29 เมตร ล้อมรอบด้วยโบราณวัตถุ [[โบราณสถาน]]สำคัญ เช่น [[ต้นพระศรีมหาโพธิ์]] [[พระแท่นวัชรอาสน์]] ที่ประทับตรัสรู้ และ[[อนิมิสสเจดีย์]] เป็นต้น ซึ่งนอกจากพุทธสถานโบราณแล้ว บริเวณโดยรอบพุทธคยายังเป็นที่ตั้งของวัดพุทธนานาชาติ รวมทั้ง[[วัดไทย]]คือ [[วัดไทยพุทธคยา]]
เส้น 74 ⟶ 64:
== จุดแสวงบุญและสภาพของพุทธคยาในปัจจุบัน ==
 
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
| Image = [[ภาพ:Mahabodhitemple.jpg|248px]]
| imagecaption = พระมหาโพธิเจดีย์ พุทธสังเวชนียสถานที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ
| Country = [[ตำบลพุทธคยา]] [[อำเภอคยา]] [[จังหวัดมคธ]] [[รัฐพิหาร]] {{IND}}
| Name = วัดมหาโพธิ
| Type = มรดกทางวัฒนธรรม
| Year = 2545
| Criteria = (i) (ii) (iii) (iv) (vi)
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/1056
}}
พุทธคยาในปัจจุบันเป็นพื้นที่อยู่ต่ำกว่าพื้นปกติ เหมือนหลุมขนาดใหญ่ เนื่องจากผ่านระยะเวลากว่าสองพันปี ดินและตะกอนจากแม่น้ำได้ทับถมจนพื้นที่ในบริเวณนี้สูงขึ้นกว่าในสมัยพุทธกาลหลายเมตร ทำให้ในปัจจุบันผู้ไปนมัสการสังเวชนียสถานแห่งนี้ต้องเดินลงบันไดกว่าหลายสิบขั้น เพื่อถึงระดับพื้นดินเดิมที่เป็นฐานที่ตั้งพุทธสถานโบราณ