ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามดอกกุหลาบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
แม้เคยเกิดการปะทะกันด้วยอาวุธระหว่างผู้สนับสนุนราชวงศ์ยอร์กและแลงแคสเตอร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การสู้รบเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในปี 1455 ที่[[ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1]] ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คนที่โดดเด่นหลายคนเสยชีวิต แต่ทายาทที่เหลือยังพยายาทกับริชาร์ด แม้จะมีการฟื้นฟูสันติภาพชั่วคราว มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู ดลให้ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คัดค้านอิทธิพลของเอิร์ลแห่งยอร์ค การสู้รบดำเนินต่ออย่างรุนแรงขึ้นในปี 1459 เอิร์ลแห่งยอร์คและผู้สนับสนุนของพระองค์ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ แต่ผู้สนับสนุนที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์คนหนึ่ง [[ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 16 แห่งวอริก|เอิร์ลแห่งวอริก]] บุกครองอังกฤษจาก[[กาเล]]และสามารถจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้ที่[[ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน (ค.ศ. 1460)|ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน]] เอิร์ลแห่งยอร์คเสด็จกลับประเทศและเป็น[[เจ้าผู้อารักขา|ผู้พิทักษ์อังกฤษ]] (Protector of England) แต่ทรงถูกปรามมิให้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ มาร์กาเร็ตและอภิชนแลงแคสเตอร์ผู้ไม่ยอมปรองดองประชุมกำลังทางเหนือของอังกฤษ และเมื่อเอิร์ลแห่งยอร์คเคลื่อนทัพขึ้นเหนือไปปราบ พระองค์กับเอ็ดเวิร์ด พระราชโอรสพระองค์ที่สอง ถูกปลงพระชนม์ทั้งคู่ที่ยุทธการเวคฟีลด์ในเดือนธันวาคม 1460 กองทัพแลงแคสเตอร์รุกลงใต้และจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้อีกใน[[ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2]] แต่ไม่สามารถยึดครองกรุงลอนดอนไว้ได้ และถอยกลับไปทางเหนือในเวลาต่อมา พระราชโอรสองค์โตของเอิร์ลแห่งยอร์ค เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ได้รับการประกาศเป็น[[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4]] พระองค์ระดมกองทัพราชวงศ์ยอร์คและได้ชัยเด็ดขาดที่[[ยุทธการที่โทว์ทัน]]เมื่อเดือนมีนาคม 1461
 
หลังจากการลุกขึ้นต่อต้านอย่างประปรายของฝ่ายแลงแคสเตอร์ก็ทางเหนือถูกกำหราบกำราบในปี [[ค.ศ. 1464]] ต่อมาและพระเจ้าเฮนรีถูกจับเป็นเชลยอีกรั้ง พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมีเรื่องบาดหมางทะเลาะกับ[[ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 16 แห่งวอริก|เอิร์ลแห่งวอริก]] หรือสมญา “ริชาร์ด"ผู้สร้างกษัตริย์”กษัตริย์" (Kingmaker)) ผู้สนับสนุนคนสำคัญและที่ปรึกษาหลักของพระองค์โดยการไปเสกสมรสอย่างลับ ๆ และยังแตกแยกกับพระสหายหลายคน และกระทั่งพระบรมวงศานุวงศ์โดยทรงสนับสนุนตระกูลของสมเด็จพระราชินี[[เอลิซาเบธ วูดวิลล์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|พระนางเอลิซาเบธ วูดวิลล์]] ที่ทำให้ตระกูลวูดวิลล์เรืองซึ่งมีอำนาจขึ้นมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้แก่พระองค์ทรงอภิเษกสมรสด้วยอย่างลับ ๆ ทีแรก เอิร์ลแห่งวอริกพยายามยกน้องชาย ผู้ในที่สุดก็หันไปสนับสนุนราชวงศ์[[จอร์จ แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์|จอร์จ ดยุกแห่งแคลเรนซ์]] เป็นพระมหากษัตริย์ แล้วจึงฟื้นฟู[[พระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 6]] กลับสู่ราชสมบัติ จากนั้นสองปี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ทรงได้รับชัยชนะสมบูรณ์อีกครั้งที่[[ยุทธการที่บาร์เนต|บาร์เนต]] (เมษายน 1471) ที่ซึ่งเอิร์ลแห่งวอริกถูกสังหาร และ[[ยุทธการที่ทูกสบรี|ทูกสบรี]] (พฤษภาคม 1471) ที่ซึ่ง[[เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์|เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์]] ทายาทแลงแคสเตอร์ ถูกประหารชีวิตหลังยุทธการ พระเจ้าเฮนรีถูกปลงพระชนม์ในหอคอยลอนดอนหลายวันจากนั้น ยุติลำดับการสืบราชสันตติวงศ์โดยตรงของแลงแคสเตอร์
 
[[ริชาร์ด เนวิลล์ เอิร์ลที่ 16 แห่งวอริก|เอิร์ลแห่งวอริก]]พยายามโค่นราชบัลลังก์โดยการร่วมมือกับ[[จอร์จ แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์]] พระราชอนุชาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เมื่อสำเร็จก็ยก[[พระเจ้าเฮนรีที่ 6 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเฮนรีที่ 6]] กลับมาเป็นพระเจ้าแผ่นดินได้เป็นระยะเวลาสองปีก่อนที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดจะทรงยึดราชบัลลังก์คืนได้ในปี [[ค.ศ. 1471]] เอิร์ลแห่งวอริกและ[[เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์]]เสียชีวิตในสนามรบ ส่วนพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ก็ทรงถูกปลงพระชนม์ทันทีหลังจากนั้น
 
หลังจากนั้นบ้านเมืองก็อยู่ในความสงบอยู่ระยะหนึ่ง จนเมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหันในปี [[ค.ศ. 1483]] พระอนุชา[[พระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ|ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์]]พยายามยับยั้งตระกูลวูดวิลล์และ[[เอลิซาเบธ วูดวิลล์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ|พระนางเอลิซาเบธ วูดวิลล์]]ในการมีอำนาจในการปกครองแทนพระราชโอรสของพระเชษฐา[[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5]] ผู้ขณะนั้นยังทรงพระเยาว์ โดยการยึดราชบัลลังก์เป็นของตนเองและขึ้นครองราชย์เป็น[[พระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าริชาร์ดที่ 3]] โดยอ้างว่าการสมรสของเอลิซาเบธ วูดวิลล์กับพระเชษฐาเป็นการเสกสมรสที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายซึ่งทำให้พระราชนัดดาของพระองค์ไม่มีสิทธิในราชบัลลังก์ การยึดอำนาจและความสงสัยว่าพระองค์ทรงมีส่วนในการฆาตกรรมพระนัดดาทั้งสองคือ[[พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5]]และ[[ริชาร์ดแห่งชรูว์สบรี ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก]] พระราชอนุชา ([[เจ้าชายในหอคอย]]) ทำให้เกิดการก่อความไม่สงบขึ้นหลายแห่งในอังกฤษ