ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จินดามณี (ตำรา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Aristitleism ย้ายหน้า จินดามณี ไปยัง จินดามณี (ตำรา)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|||จินดามณี}}
'''จินดามณี''' (มีความหมายว่า แก้วสารพัดนึก) เป็นแบบเรียนภาษาไทย มีเนื้อหาครอบคลุมเรื่อง การใช้[[สระ]] [[พยัญชนะ]] [[วรรณยุกต์]] การแจกลูก การผันอักษร อักษรศัพท์ อักษรเลข การสะกด[[การันต์]] การแต่งคำประพันธ์ ชนิดต่าง ๆ และ[[กลบท]] ปรากฏกลบท อยู่ 60 ชนิด มีทั้งจินดามณี แต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนกลาง โดย[[พระโหราธิบดี]] ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] และยังเป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทยด้วย และจากการที่จินดามณีของพระโหราธิบดี เป็นแบบเรียนไทยมาก่อนจนเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของแบบเรียนไทย ทำให้หนังสือแบบเรียนไทยในยุคต่อมาหลายเล่มใช้ชื่อตามว่า "จินดามณี" เช่นเดียวกัน เช่น จินดามณีฉบับความแปลก จินดามณีครั้งแผ่นดินพระเจ้าบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท จินดามณีฉบับพิมพ์ของหมอสมิท และจินดามณีฉบับพิมพ์ของหมอบรัดเล<ref>บุญเตือน ศรีวรพจน์, "จินดามณี ฉบับหลวงวงษาธิราชสนิท", นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับ 11 กันยายน พ.ศ. 2552 หน้า 62-66 แม่มณีคุณหลวง</ref>
 
'''จินดามณี''' (มีความหมายว่า แก้วสารพัดนึก) เป็นแบบเรียนภาษาไทย มีเนื้อหาครอบคลุมเรื่อง การใช้[[สระ]] [[พยัญชนะ]] [[วรรณยุกต์]] การแจกลูก การผันอักษร อักษรศัพท์ อักษรเลข การสะกด[[การันต์]] การแต่งคำประพันธ์ ชนิดต่าง ๆ และ[[กลบท]] ปรากฏกลบท อยู่ 60 ชนิด มีทั้งจินดามณี แต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนกลาง โดย[[พระโหราธิบดี]] ในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] และยังเป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทยด้วย และจากการที่จินดามณีของพระโหราธิบดี เป็นแบบเรียนไทยมาก่อนจนเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของแบบเรียนไทย ทำให้หนังสือแบบเรียนไทยในยุคต่อมาหลายเล่มใช้ชื่อตามว่า "จินดามณี" เช่นเดียวกัน เช่น จินดามณีฉบับความแปลก จินดามณีครั้งแผ่นดินพระเจ้าบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท จินดามณีฉบับพิมพ์ของหมอสมิท และจินดามณีฉบับพิมพ์ของหมอบรัดเล<ref>บุญเตือน ศรีวรพจน์, "จินดามณี ฉบับหลวงวงษาธิราชสนิท", นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับ 11 กันยายน พ.ศ. 2552 หน้า 62-66 แม่มณีคุณหลวง</ref>
 
== อ้างอิง ==