ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บุษยา รังสี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| image = บุษยา รังสี.jpg
| imagesize =
| caption = จากปกแผ่นเสียงเพลง "รักที่ต้องมนตรา" และเป็นภาพหน้าศพบุษยา รังสี ขณะบำเพ็ญกุศลศพเมื่อเดือน ก.พ.2553
| birthname = มานี ทัพพะรังสี
| birthdate = [[13 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2483]]
บรรทัด 27:
}}
 
'''บุษยา รังสี''' ([[13 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2483]] - [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2553]]) เป็นนักร้องรุ่นกลางของ[[วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์]] และ [[วงดนตรีสุนทราภรณ์]]

เจ้าของเสียงเพลงน้ำตาดาว ,กระซิบสวาท ,ฝนหยาดสุดท้าย ,ลาภูพิงค์ ,ฝากหมอน ,ฝากรัก ,เรือมนุษย์ ,ชีวิตวอลซ์วอลทซ์ ,ปาฏลีอธิษฐาน และเพลงสถาบันอีกมากมาย
 
== ประวัติ ==
'''บุษยา รังสี''' หรือชื่อจริงว่า '''มานี ทัพพะรังสี''' {{ชื่อเล่น|ต้อย}} เป็นบุตรสาวของพระยานราทรพิรัญรัฐ (เยื้อน ทัพพะรังสี) และเสงี่ยม ทัพพะรังสี เกิดเมื่อ [[13 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2483]] ที่[[จังหวัดสงขลา]] จบการศึกษาจาก[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ได้อนุปริญญาทางพาณิชยศาสตร์และการบัญชีเคย

==ในโลกเพลง==

เริ่มเป็นนักร้องประจำวงพณิชยการพระนคร เมื่อครั้งศึกษาอยู่ที่พณิชยการพระนคร และได้ยังช่วยร้องให้วงดนตรี[[โรงเรียนนายเรือ]] ณ [[สถานีวิทยุ อ.ส.]]ใน[[สวนจิตรลดา]] [[พระราชวังดุสิต]] ต่อมาได้ด้วยก่อนเป็นนักร้องวงสโมสรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
ที่วงดนตรีโรงเรียนนายเรือ ณ สถานีวิทยุ อ.ส. ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดนตรีร่วมด้วยนั้น ครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]] ได้เข้าเฝ้า และได้ฟังเสียงเธอร้องเพลง "สำคัญที่ใจ" คู่กับ [[เทอด วรรธนา]] (ผู้แต่งคำร้องเพลง ครวญถึงเจ้า) เลยชวนให้ไปร้องเพลงด้วยกัน แต่ด้วยยังห่วงเรียนจึงปฏิเสธไป
 
เมื่อครั้งที่บุษยาร้องให้วงดนตรีโรงเรียนนายเรือ ณ สถานีวิทยุ อ.ส. ในสวนจิตรลดา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดนตรีร่วมด้วยนั้น ครูเอื้อ สุนทรสนาน ได้เข้าเฝ้า และได้ฟังเสียงเธอร้องเพลง "สำคัญที่ใจ" คู่กับ [[เทอด วรรธนา]] ผู้แต่งคำร้องเพลง ครวญถึงเจ้า เลยชวนให้ไปร้องเพลงด้วยกัน แต่บุษยายังห่วงเรียนจึงปฏิเสธครูเอื้อไป เมื่อเรียนอยู่[[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] บุษยาได้ร่วมร้องเพลงกับวงสุนทราภรณ์เมื่อวงดนตรีไปบรรเลงที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] บุษยาได้เข้า [[วงดนตรีสุนทราภรณ์]]เมื่อตั้งแต่ต้น[[เดือนสิงหาคม]] [[พ.ศ. 2502]] ในขณะที่เรียนอยู่ชั้นปีที่ 1 โดย [[ชอุ่ม ปัญจพรรค์]] ให้เธอใช้ตั้งชื่อให้ว่า ''"ทัดดาว บุษยา"'' แต่ ครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]]ให้ใช้ชื่อว่า ''"บุษยา "'' เมื่อเข้ามาอยู่ใน[[วงดนตรีสุนทราภรณ์]]แล้ว ต่อมาเธอได้ออกทีวีครั้งแรก ด้วยชื่อ ''"บุษยา รังสี"'' ได้เป็นที่รู้จักกันตั้งแต่นั้นมา
 
บุษยา รังสีเคยรับราชการใน [[กรมบัญชีกลาง]]อยู่ระยะหนึ่งควบคู่ไปกับการร้องเพลง แต่ก็ ก่อนลาออกมารับราชการที่[[กรมประชาสัมพันธ์]]จนเมื่อครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]]เกษียณอายุราชการ จึงได้ออกมาร้อง[[เพลงไทยสากล]]อยู่ระยะหนึ่ง เพลงที่เป็นที่รู้จัก กันดี ได้แก่ [[ฝั่งหัวใจ]] ต่อมาได้ติดตามสามี ([[พลเรือโทชูชาติ เกษเสถียร]]) ไปอยู่ต่างประเทศระยะหนึ่ง เมื่อกลับมาเมืองไทยได้ขับร้องเพลงให้กับ[[วงดนตรีสุนทราภรณ์]]และ[[วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์]] ในงานการกุศลต่าง ๆ เป็นครั้งคราว แต่หยุดร้องเพลงไปนานกว่า 15 ปี จนกระทั่งถึงแก่กรรมด้วยเหตุผลทางสุขภาพ [[ไฟล์:busaya.jpeg|thumb|บุษยา รังสีในวัยสาว]]
เมื่อครั้งที่บุษยาร้องให้วงดนตรีโรงเรียนนายเรือ ณ สถานีวิทยุ อ.ส. ในสวนจิตรลดา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดนตรีร่วมด้วยนั้น ครูเอื้อ สุนทรสนาน ได้เข้าเฝ้า และได้ฟังเสียงเธอร้องเพลง "สำคัญที่ใจ" คู่กับ [[เทอด วรรธนา]] ผู้แต่งคำร้องเพลง ครวญถึงเจ้า เลยชวนให้ไปร้องเพลงด้วยกัน แต่บุษยายังห่วงเรียนจึงปฏิเสธครูเอื้อไป เมื่อเรียนอยู่[[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] บุษยาได้ร่วมร้องเพลงกับวงสุนทราภรณ์เมื่อวงดนตรีไปบรรเลงที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] บุษยาได้เข้า [[วงดนตรีสุนทราภรณ์]]เมื่อต้น[[เดือนสิงหาคม]] [[พ.ศ. 2502]] ในขณะที่เรียนอยู่ชั้นปีที่ 1 โดย[[ชอุ่ม ปัญจพรรค์]] ให้เธอใช้ชื่อว่า ''"ทัดดาว บุษยา"'' แต่ ครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]]ให้ใช้ชื่อว่า "บุษยา" เมื่อเข้ามาอยู่ใน[[วงดนตรีสุนทราภรณ์]]แล้ว ต่อมาเธอได้ออกทีวีครั้งแรก ชื่อ ''"บุษยา รังสี"'' ได้เป็นที่รู้จักตั้งแต่นั้นมา
 
==ผลงานเพลง==
บุษยา รังสีรับราชการใน[[กรมบัญชีกลาง]]อยู่ระยะหนึ่งควบคู่ไปกับการร้องเพลง แต่ก็ลาออกมารับราชการที่[[กรมประชาสัมพันธ์]]จนเมื่อครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]]เกษียณอายุราชการ จึงได้ออกมาร้อง[[เพลงไทยสากล]]อยู่ระยะหนึ่ง เพลงที่เป็นที่รู้จัก กันดีได้แก่ [[ฝั่งหัวใจ]] ต่อมาได้ติดตามสามี ([[พลเรือโทชูชาติ เกษเสถียร]]) ไปอยู่ต่างประเทศระยะหนึ่ง เมื่อกลับมาเมืองไทยได้ขับร้องเพลงให้กับ[[วงดนตรีสุนทราภรณ์]]และ[[วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์]] ในงานการกุศลต่าง ๆ เป็นครั้งคราว แต่หยุดร้องเพลงไปนานกว่า 15 ปี จนกระทั่งถึงแก่กรรมด้วยเหตุผลทางสุขภาพ [[ไฟล์:busaya.jpeg|thumb|บุษยา รังสีในวัยสาว]]
เพลงแรกที่ทำชื่อเสียงและได้บันทึกแผ่นเสียง ของบุษยา รังสี คือเพลง "''[[น้ำตาดาว]]'' "
 
ส่วนเพลงอื่นๆ ที่สร้างชื่อเสียง ได้แก่ โดมในดวงใจ ,กระซิบสวาท ,สั่งไทร ,ลาภูพิงค์ ,พุทธศาสน์คู่ไทย ,ฝากหมอน ,แนวหลัง ,โดมร่มใจ ,แดนนภา ,ถึงพี่ ,จำจากโดม ,พอกันที ,ถึงอย่างไรก็ไม่เหมือนเดิม ,ลาแล้วแดนขจี ,อาลัยร่มพฤกษ์ ,ลาดงตาล และเพลงลาของสถาบันต่างๆ ทำให้ได้ฉายาว่า''''''ราชินีเพลงสถาบัน''''''
==ผลงานเพลง==
เพลงแรกที่ทำชื่อเสียงและได้บันทึกแผ่นเสียง ของบุษยา รังสี คือเพลง "''[[น้ำตาดาว]]''"
ส่วนเพลงอื่นๆ ที่สร้างชื่อเสียง ได้แก่ โดมในดวงใจ กระซิบสวาท สั่งไทร ลาภูพิงค์ พุทธศาสน์คู่ไทย ฝากหมอน แนวหลัง โดมร่มใจ แดนนภา ถึงพี่ จำจากโดม พอกันที ถึงอย่างไรก็ไม่เหมือนเดิม ลาแล้วแดนขจี อาลัยร่มพฤกษ์ ลาดงตาล และเพลงลาของสถาบันต่างๆ ทำให้ได้ฉายาว่า''''''ราชินีเพลงสถาบัน''''''
 
==มรณกรรม==
==ถึงแก่กรรม==
บุษยา รังสีถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ด้วยอาการนอนหลับไปแล้วไม่ตื่น ที่บ้านพักของตนเอง หลังจากป่วยด้วยโรคมีอาการของ [[เนื้องอกในสมอง]]มานานหลายปี แต่บุษยา รังสี ไม่ได้'''มิใช่ป่วยเป็นโรค[[มะเร็งลำไส้]]อย่างที่เป็นข่าว'''<ref>กระทู้ขอแสดงความเสียใจต่อการจากไปของคุณบุษยา รังสี บ้านคนรักสุนทราภรณ์ http://www.websuntaraporn.com/suntaraporn/board/posting.asp?GID=4225</ref>
 
== อ้างอิง ==