ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิ้มก้อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saadpralard (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''จิ้มก้อง''' หมายถึง การเจริญทางพระราชไมตรีด้วยการถวาย[[เครื่องราชบรรณาการ]] จิ้มก้อง เป็นคำจากภาษาจีน จิ้ม แปลว่า ให้, ก้อง แปลว่า ของกำนัล
ในการทำการค้ากับจีนในสมัยโบราณ พ่อค้ามักจะนำของกำนัลไปให้เพื่อขอความสะดวกในการทำมาค้าขาย แต่จีนมักถือว่า ผู้ที่มาจิ้มก้อง เป็นผู้ที่มาสามิภักดิ์ขอเป็น[[เมืองขึ้น]] เมื่อมีของกำนัลมาให้ นอกจากจีนจะให้ความสะดวกในการค้าแล้ว พระเจ้ากรุงจีนยังตอบแทนด้วยของกำนัลอย่างมากมายด้วย พ่อค้าไทยจึงนิยมไปจิ้มก้อง <ref>[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=358 ความหมายของคำว่า จิ้มก้อง]</ref>
 
[[ขุนวิจิตรมาตรา]] ให้ความหมายของ'''จิ้มก้อง''' หรือ '''จินก้ง''' ว่าเป้นคำภาษาจีน บางทีใช้คำว่า '''ก้อง''' คำเดียว เป็นความหมายต่างๆ อาทิ ทวงก้อง หมายความว่า ทวงส่วย '''มาก้อง''' หมายความว่า มาส่งส่วยฐานเป็นเมืองขึ้น หรือมาขอเป็นเมืองขึ้น '''เมืองก้อง''' หมายถึง เมืองขึ้น หรือเมืองส่วย และจิ้มก้อง ก็เรียกว่า ส่งส่วย ภาษาอังกฤษเรียกว่า '''Tribute''' <ref>กาญจนาคพันธุ์. คอคิดขอเขียน. กรุงเทพฯ :ห้างหุ้นส่วนจำกัดรวมสาสน์,2513, หน้า 267</ref>
 
 
==ธรรมเนียมการจิ้มกล้องจิ้มก้องกับจีน==
การจิ้มก้องเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องผูกพันกันมาโดยตลอด เป็นเจตคติที่ยึดถือปฏิบัติตามบุราณราชประเพณี แต่หากได้เกิดมีลักษณะการแลกเปลี่ยนสินค้ากันขึ้น เนื้อแท้แล้วเป็นการหวังประโยชน์ต่อกันทางด้านการค้าเสียมากกว่า
 
ขนบธรรมเนียมการจิ้มก้องนอกจากจะกระทำได้โดยพระมหากษัตริย์แล้วคณะทูตานุทูตจากดินแดนโพ้นทะเลก็ยังสามารถกระทำการค้าขายส่วนตัวได้ด้วย ในช่วง 270 ปีเศษของราชวงศ์หมิง (เหม็ง) จีนส่งคณะทูตมายังกรุงศรีอยุธยา 19 ครั้ง ส่วนกรุงศรีอยุธยามีคณะราชทูตไปประเทศจีน 110 ครั้ง และบรรดาสินค้าส่วนตัวที่ผู้ส่งเครื่องราชบรรณาการนำติดเข้าไปนั้น รัฐบาลราชวงศ์หมิงก็ยังผ่อนปรน มิได้เรียกเก็บ[[ภาษี]]ผ่านด่านแต่ประการใด <ref>พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร. สำเภาาสยามสำเภาสยาม : ตำนานเจ๊กบางกอก. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊ค, 2544, หน้า 50 </ref>
 
==ประวัติ==