ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกรตแบร์ริเออร์รีฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q7343 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
|Image = [[ไฟล์:GreatBarrierReef-EO.JPG|248px]]
บรรทัด 10:
|Link = http://whc.unesco.org/pg.cfm?cid=31&id_site=154
}}
'''เกรตแบร์ริเออร์รีฟ''' ({{lang-en|Great Barrier Reef}}) เป็น[[พืดหินปะการัง]]ที่ยาวที่สุดในโลก ยาวกว่า 2,000 กิโลเมตร อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ[[ประเทศออสเตรเลีย]] หรือตอนใต้ของ[[ทะเลคอรัล]] เริ่มตั้งแต่แหลมยอร์ก (Cape York) ซึ่งอยู่ไกลขึ้นไปทางเหนือของ[[รัฐควีนส์แลนด์]] ลงมาถึงบันดะเบอร์ก (Bundaberk) ทางตอนใต้ ครอบคลุมดูแลพื้นที่ 215,000 ตารางไมล์ หรือ 345,000 ตารางกิโลเมตร ของน่านน้ำรอบ ๆ แนวปะการัง และแนวปะการังใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ แนวปะการังเหนือ (Northern Reef) หมู่เกาะวิตซันเดย์ (Whitsunday Island) และแนวปะการังใต้ (Southern Reef)<ref>[http://www.wonder7th.com/wonder_natural/004great_barrier_reef.htm เกรตแบร์ริเออร์รีฟ (แนวปะการังใหญ่)] wonder7th.com {{th}}</ref>
 
'''เกรตแบร์ริเออร์รีฟ''' ({{lang-en|Great Barrier Reef}}) เป็น[[พืดหินปะการัง]]ที่ยาวที่สุดในโลก ยาวกว่า 2,000 กิโลเมตร อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ[[ประเทศออสเตรเลีย]] หรือตอนใต้ของ[[ทะเลคอรัล]] เริ่มตั้งแต่แหลมยอร์ก (Cape York) ซึ่งอยู่ไกลขึ้นไปทางเหนือของ[[รัฐควีนส์แลนด์]] ลงมาถึงบันดะเบอร์ก (Bundaberk) ทางตอนใต้ ครอบคลุมดูแลพื้นที่ 215,000 ตารางไมล์ หรือ 345,000 ตารางกิโลเมตร ของน่านน้ำรอบ ๆ แนวปะการัง และแนวปะการังใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ แนวปะการังเหนือ (Northern Reef) หมู่เกาะวิตซันเดย์ (Whitsunday Island) และแนวปะการังใต้ (Southern Reef)<ref>[http://www.wonder7th.com/wonder_natural/004great_barrier_reef.htm เกรตแบร์ริเออร์รีฟ (แนวปะการังใหญ่)] wonder7th.com</ref>
 
แนวปะการัง มีสิ่งชีวิตมากมาย ทั้งปะการังชนิดอ่อน และชนิดแข็ง สีสวยกว่า 350 ชนิด ตลอดจนปลา และสิ่งมีชีวิตในทะเลที่ต่าง ๆ อีก 1500 ชนิด
เส้น 26 ⟶ 25:
 
เมื่อส่วนขอบของ[[รัฐควีนส์แลนด์]]เคลื่อนเข้าสู่เขตร้อนชื้นแล้ว น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น หินปะการังเจริญเติบโตแต่ระบบการสะสมตัวของตะกอนมีการถูกกัดเซาะอย่างรวดเร็วตามแนวภูเขาหรือที่สูงๆ ทำให้เกิดดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ ([[river delta]]), อูอูซ ([[oozes]]), เทอบิไดซ์ ([[Turbidites]]) ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของหินปะการัง และเมื่อ 10 ล้านปีก่อน ระดับน้ำทะเลลดลงอย่างฉับพลัน ทำให้สามารถมีการสะสมตัวของตะกอนด้วย บริเวณที่แนวหินปะการังขึ้น อาจสร้างจากพวกตะกอนที่ตกสะสมนี้เอง จนขอบเขตของแนวหินปะการังขยายออกไปไกล จนพวกตะกอนแขวนลอยนั้นไปตกสะสมตัวไม่ถึงจึงทำให้พวกหินปะการังหยุดการขยายตัวออกไปนั่นเอง นอกจากนี้เมื่อประมาณ 400,000 ปีก่อนมีช่วงระยะเวลาที่น้ำแข็งที่ปกคลุมโลกอยู่ละลายเพราะอากาศอุ่นขึ้นและทำให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปประมาณ 4 องศาเซลเซียส
 
[[ไฟล์:GBRplane.JPG|200px|thumb|right|เกรตแบร์ริเออร์รีฟมองจากเครื่องบินได้อย่างชัดเจน.]]
 
การเกิดของแผ่นดินที่เป็นฐานของแนวหินปะการัง เป็นที่ราบชายฝั่ง ([[Coastal plain]]) ก่อกำเนิดจากการกัดเซาะพวกตะกอนของแนวเทือกเขา ([[Great Dividing Range]]) กับพวกเนินเขาขนาดใหญ่ ศูนย์วิจัยแนวหินปะการังได้พบหินปะการังที่คล้ายโครงกระดูกซึ่งหาอายุได้ประมาณ 500,000 ปี เจ้าหน้าที่ของศูนย์เกรตแบร์ริเออร์รีฟมารีน ([[Great Barrier Reef Marine Park]]) คิดว่าหลักฐานที่สมบูรณ์ที่สุดชิ้นล่าใหม่นี้เป็นโครงสร้างของแนวหินปะการังซึ่งมีอายุประมาณ 600,000 ปี และปัจจุบันเชื่อว่าแนวหินปะการังที่ยังมีชีวิตอยู่เริ่มเกิดและเจริญเติบโตเมื่อประมาณ 20,000 ปีก่อน
เมื่อ 20,000 – 6,000 ปีก่อน ระดับน้ำทะเลขึ้นทำให้หินปะการังสามารถเจริญเติบโตในที่สูงกว่าเดิมได้ เช่น เนินเขาบนที่ราบใกล้ชายฝั่ง เนื่องจากเมื่อประมาณ 13,000 ปีก่อนระดับน้ำทะเลอยู่ที่ 60 เมตรเท่านั้น ซึ่งต่ำกว่าระดับน้ำทะเลในปัจจุบัน และเป็นเพราะเหตุการณ์ในอดีตทำให้แนวหินปะการังแห่งนี้เจริญเติบโตจนมีขนาดใหญ่มหาศาล เราจึงเรียกสิ่งมหัศจรรย์นี้ว่าเกรตแบร์ริเออร์รีฟ (Great Barrier Reef)<ref >[http://www.reef.crc.org.au/discover/coralreefs/coralgbr.html What is the Great Barrier Reef?] {{en}}</ref>
 
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Great Barrier Reef}}
== อ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
{{gurool}}
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Great Barrier Reef}}
{{Coord|18|17|10|S|147|42|00|E|display=title}}
 
{{เรียงลำดับ|กรตแบร์ริเออร์รีฟ}}
[[หมวดหมู่:แนวปะการัง|ก]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกทางธรรมชาติ|ก]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศออสเตรเลีย|ก]]
{{โครงภูมิศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:แนวปะการัง|ก]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกทางธรรมชาติ|ก]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศออสเตรเลีย|ก]]
{{Link GA|de}}
{{Link GA|en}}