ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 35:
 
== ราชการและบรรดาศักดิ์ ==
'''เจ้าพระยาพิษณุโลก''' ได้รับการสถาปนา[[บรรดาศักดิ์ไทย|บรรดาศักดิ์ขุนนางไทย]]ชั้นสูงสุดเป็น “[[ขุนนางไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา|เจ้าพระยา]]” เมื่อพ.ศ. 2302 ในสมัย[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] (พระเจ้าเอกทัศ) ปรากฏราชทินนานามในทำเนียบพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมืองว่า '''เจ้าพระยาสุรสีห์พิศณุวาธิราช ชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ''' ถือศักดินา 10000 สำหรับตำแหน่งเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอกดัง ให้รับราชการเจ้าเมืองที่เมืองพิษณุโลก แม้ไม่ได้เป็นเจ้านายแต่ก็ยังอยู่ในฐานะพิเศษ เพราะเมืองพิษณุโลกเป็นเมืองหลวงในช่วงที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถที่ 1 ทรงครองราชย์ในช่วงราชอาณาจักรอโยธยาซึ่งเป็นช่วงที่มีส่งครามยืดเยื้อกับอาญาจักรล้านนา ไม่เพียงแต่เป็นเมืองพระมหาอุปราช แต่ยังเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่คอยดูแลหัวเมืองเหนือทั้งหมดและดูเหตุการณ์ด้านเมืองพม่าและเมืองมอญ
 
* '''หลวงมหาอำมาตยาธิบดี (เรือง''') ในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] (ไม่ทราบศักดินา)
* '''พระยาพิศณุโลก (เรือง''') สมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] - สมัย[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] ถือศักดินา 10000
* '''เจ้าพระยาพิษณุโลกพิศณุโลก (เรือง)''' ได้รับการสถาปนา[[บรรดาศักดิ์ไทย|(บรรดาศักดิ์ขุนนางไทย]]ชั้นสูงสุดเป็น “[[ขุนนางไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา|เจ้าพระยา]]”) เมื่อพ.ศ. 2302 ในสมัย[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] (พระเจ้าเอกทัศ) ปรากฏราชทินนานามในทำเนียบพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมืองว่า '''เจ้าพระยาสุรสีห์พิศณุวาธิราช ชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ''' ถือศักดินา 10000 สำหรับตำแหน่งเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอกดัง ให้รับราชการเจ้าเมืองที่เมืองพิษณุโลก แม้ไม่ได้เป็นเจ้านายแต่ก็ยังอยู่ในฐานะพิเศษ เพราะเมืองพิษณุโลกเป็นเมืองหลวงในช่วงที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถที่ 1 ทรงครองราชย์ในช่วงราชอาณาจักรอโยธยาซึ่งเป็นช่วงที่มีส่งครามยืดเยื้อกับอาญาจักรล้านนา ไม่เพียงแต่เป็นเมืองพระมหาอุปราช แต่ยังเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่คอยดูแลหัวเมืองเหนือทั้งหมดและดูเหตุการณ์ด้านเมืองพม่าและเมืองมอญ
เจ้าพระยาสุรสีห์ ฯ นั้นเป็นราชทินนานามประจำเจ้าเมืองพิษณุโลกในสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ สำหรับขุนนางบรรดาศักดิ์ชั้นเจ้าพระยา และพระญาติพระวงศ์ที่ครองหัวเมืองพิษณุโลก
* '''พระเจ้าพิศณุโลก (เรือง)''' ราชาภิเษกตนเองเป็นพระมหากษัตริย์ครองหัว[[เมืองพิษณุโลก]] เมื่อ พ.ศ. 2311 สมัย[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]
 
''หมายเหตุ: สันนิษฐานว่าอาจจะได้ตั้งบรรดาศักดิ์ชั้นพระยา และเจ้าพระยาในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] เนื่องจากไม่พบหลักฐานว่า[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]ตั้งเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เพราะขณะนั้นเป็นช่วงฉุกละหุกเกิดการสับเปลี่ยนกษัตริย์ภายในราชวงศ์ ประกอบกับหัวเมืองพิษณุโลกเป็นเมืองเอกที่เป็นหน้าด่านเกิดสงครามบ่อยครั้ง อย่าไรก็ตามปรากฏบรรดาศักดิ์เด่นชัดของเจ้าพระยาพิศณุโลก (เรือง) ในสมัย[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] เมื่อได้ทรงครองราชย์ต่อจาก[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]]''
 
== เครื่องยศขุนนางที่ได้รับพระราชทาน ==
'''เจ้าพระยาพิษณุโลก''' ได้รับพระราชทานเครื่องยศดังนี้
'''เจ้าพระยาพิษณุโลก''' ได้รับพระราชทาน "[[เครื่องราชอิสริยยศ|ขี่คานหามกรรชิงหุ้มผ้าขาว]]" เครื่องยศขุนนางสำหรับผู้ถือ[[ศักดินา]] 10000 สำหรับขุนนางครองหัวเมือง <ref>เครื่องยศขุนนางที่พระราชทานในสมัยกรุงศรีอยุธยา</ref> เป็นเครื่องยศขุนนางที่พระราชทานในสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
* ขี่คานหามกรรชิงหุ้มผ้าขาว (ขุนนางสามัญชน) (สำหรับขุนนางหัวเมืองชั้นเจ้าพระยา)
* เครื่องสูง
* พานทอง
* น้ำเต้าน้ำทอง
* เสลี่ยงงา เสลี่ยงกลีบบัว
* เจียดทองซ้ายขวา
* เครื่องทอง
* กระบี่กั้นหยั่น กระบี่บั้งทอง
 
== ความเกี่ยวข้องกับสงครามพระเจ้าอลองพญา ==
เส้น 113 ⟶ 127:
|จำนวนหน้า=
}}
* [[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช|สมเด็จภาณุพันธุวงศ์วรเดช, จอมพลสมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช, จอมพล]]. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ภาค 1. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.), 2455.
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา]]. ไทยรบกับพม่าฉบับรวมเล่ม. พระนคร : ศิลปาบรรณาคาร, 2524.
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา]]. พระราชพงศาวดารรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 – 2. พระนคร : คุรุสภา, 2505.
* จรรยา ประชิตโรมรัน. การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.
* [[นิธิ เอียวศรีวงศ์]]. การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ : มติชน, 2550.