ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะตอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4912781 สร้างโดย 118.172.140.45 (พูดคุย)
บรรทัด 523:
 
ในธาตุที่มีคุณสมบัติของ[[แม่เหล็กเฟอร์โร]] อย่างเช่น เหล็ก จำนวนอิเล็กตรอนที่เป็นเลขคี่ทำให้มีอิเล็กตรอนเหลือซึ่งไม่มีคู่ และทำให้เกิดผลรวมโมเมนต์แม่เหล็กสุทธิขึ้น วงโคจรของอะตอมข้างเคียงจะซ้อนทับกัน และไปสู่สถานะพลังงานที่ต่ำกว่าเมื่อสปินของอิเล็กตรอนที่ไม่มีคู่ได้แนวตรงกันกับตัวอื่น กระบวนการนี้รู้จักกันในชื่อ อันตรกิริยาแลกเปลี่ยน (exchange interaction) เมื่อเกิดแนวโมเมนต์แม่เหล็กของอะตอมแม่เหล็กเฟอร์โรขึ้น สสารนั้นก็สามารถสร้างสนามแรงขนาดใหญ่ขึ้นจนตรวจวัดได้ สสารแบบพาราแม็กเนติกมีอะตอมที่มีโมเมนต์แม่เหล็กซึ่งสร้างแนวขึ้นในทิศทางแบบสุ่มโดยที่ไม่สามารถตรวจพบสนามแม่เหล็กเลย แต่โมเมนต์แม่เหล็กของอะตอมแต่ละตัวนั้นเรียงแนวกันตามการก่อตัวของสนาม<ref name=schroeder/><ref>{{cite web
| last=Goebel|first=Greg
| date=September 1, 2007
| url=http://www.vectorsite.net/tpqm_04.html
| title=<nowiki>[4.3]</nowiki> Magnetic Properties of the Atom
| work=Elementary Quantum Physics
เส้น 530 ⟶ 532:
}}</ref>
 
นิวเคลียสของอะตอมก็สามารถมีค่าสปินสุทธิได้เช่นกัน ตามปกติแล้วนิวเคลียสเหล่านี้จะเรียงตัวกันในทิศทางแบบสุ่ม อันเนื่องมาจาก[[สภาวะสมดุลความร้อน]] อย่างไรก็ดี มีธาตุบางตัว (เช่น [[ซีนอน|ซีนอน-129]] ซึ่งมีความเป็นไปได้ในการเกิดขั้วสปินที่สถาวะนิวเคลียร์สปินอย่างมีนัยสำคัญ จนมันเรียงตัวกันในทิศทางเดียวกันได้ เงื่อนไขเช่นนี้เรียกว่า hyperpolarization ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้กับ[[การสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก]] (MRI) <ref>{{cite journal
| last=Yarris|first=Lynn|title=Talking Pictures
| journal=Berkeley Lab Research Review
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อะตอม"