123,859
การแก้ไข
ล (ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata) |
ล (แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'สายพันธ์'→'สายพันธุ์') |
||
[[ไฟล์:Pink tulips closed.jpg|thumb|right|240px|ทิวลิปที่นิยมปลูกกันในปัจจุบันส่วนใหญ่แล้วจะเป็นทิวลิปสีเดียว จะมีทิวลิปหลายสีบ้างก็เป็นสีผสมที่จำกัด]]
การ์เบอร์เปรียบเทียบการขึ้นลงของราคาของหัวทิวลิปจากหลักฐานที่ยังมีอยู่กับแนวโน้มของการขึ้นลงของราคา[[ดอกไฮยาซินธ์]] เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19—เมื่อไฮยาซินธ์มาแทนที่ทิวลิปในการเป็นดอกไม้ยอดนิยม—ก็พบว่ามีแนวโน้มที่คล้ายคลึงกัน เมื่อไฮยาซินธ์เริ่มเข้ามาใหม่ๆ นักปลูกต่างก็พยายามแข่งกันหาสาย
==== ความเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย ====
หนังสือของแม็คเคย์ก็ยังเป็นที่นิยมกันแม้จนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้ โดยนำ ''Extraordinary Popular Delusions'' มาตีพิมพ์ใหม่อยู่เรื่อยๆ ที่มีบทนำโดยนักเขียนเช่นผู้ลงทุน[[เบอร์นาร์ด บารุค]] (Bernard Baruch) (ค.ศ. 1932) หรือนักเขียนทางการเงิน[[แอนดรูว์ โทไบอัส]] (ค.ศ. 1980),<ref> Introduction by Andrew Tobias to "Extraordinary Popular Delusions and the Madness of Crowds" (New York: Harmony Press, 1980) available on-line at [http://www.andrewtobias.com/ExPopDel-1.html Andrew Tobias, Money and Other Subjects]. Retrieved on August 12, 2008</ref> และ[[ไมเคิล หลุยส์ (นักประพันธ์)|ไมเคิล หลุยส์]] (ค.ศ. 2008) และนักจิตวิทยา[[เดวิด เจย์. ชไนเดอร์]] (ค.ศ. 1993) ซึ่งขณะนี้มีอย่างน้อยหกฉบับที่ยังขายกันอยู่
การ์เบอร์โต้ว่าแม้ว่าความคลั่งทิวลิปอาจจะไม่อยู่ในข่ายที่เรียกว่าฟองสบู่ทางเศรษฐกิจหรือฟองสบู่การเก็งกำไร แต่กระนั้นก็เป็นสถานการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนทางจิตวิทยาต่อชาวดัตช์ในด้านอื่น ตามข้อเขียนที่กล่าวว่า “แม้ว่าผลกระทบกระเทือนทางการเงินจะมีต่อคนเพียงไม่กี่คนโดยตรง แต่ความช็อคจากความคลั่งทิวลิปก็ทำให้เกิดการขาดความเชื่อมั่นในโครงสร้างของคุณค่าของสินค้า”<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|p=18}}</ref> ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ความคิดที่ว่าราคาดอกไม้จะสามารถมีค่าสูงกันได้ถึงขนาดที่ประเมินกันเป็นสิ่งที่ยากที่จะเข้าใจได้ ค่าของสาย
แหล่งข้อมูลหลายแหล่งกล่าวถึงความเป็นปฏิปักษ์ต่อความคลั่งทิวลิป เช่นจุลสารเพื่อการต่อต้านการเก็งกำไรที่ต่อมาใช้เป็นงานอ้างอิงของบทเขียนของเบ็คมันน์และแม็คเคย์ถึงผลเสียหายในทางเศรษฐกิจ แต่จุลสารเหล่านี้มิได้เขียนโดยผู้ที่ได้รับความเสียหายโดยตรงเมื่อตลาดล่ม แต่เขียนโดยผู้มีอิทธิพลจากความเชื่อทางศาสนา ซึ่งถือโอกาสประณามความวุ่นวายที่เกิดขึ้นว่าเป็นผลมาจากความเสื่อมโทรมทางจริยธรรมของสังคม—และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็เป็นเครื่องพิสูจน์ให้เห็นว่า “ผู้ที่มีความมัวเมาในทางโลก แทนที่จะเป็นทางธรรมได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง” ดังนั้นเหตุการณ์ดังกล่าวอาจจะเป็นเรื่องเล็กๆในทางเศรษฐกิจที่หยิบยกมาเติมสีสันให้เป็นเรื่องสอนใจด้านคุณธรรม<ref>{{Harvnb|Goldgar|2007|pp=260–61}}</ref>
|