ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎี ณ พัทลุง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
{{Infobox Person
| color = Blue
เส้น 24 ⟶ 23:
}}
 
'''ทฤษฎี ณ พัทลุง''' {{ชื่อเล่น|พิซซ่า}} เกิด [[พ.ศ. 2529]] เป็นนักประพันธ์ดนตรี และ[[วาทยกร]]ที่ได้รับการยอมรับในประเทศไทย{{อ้างอิง}}ที่และมีชื่อเสียงในระดับโลก{{อ้างอิง}} ปัจจุบันทำงานเป็นผู้ช่วยผู้อำนวยเพลงของวง[[บางกอกโอเปร่า]] {{cn-span|นับเป็นคนไทยคนแรกที่บรรเลงผลงานของ[[บาค]]ได้ครบถ้วน}} [[Goldberg Variations]] ปัจจุบันได้ก่อตั้งวง [[Bangkok Baroque Ensemble]]<ref>{{cite web |url=http://www.bangkokopera.com/contact.html |title=Contacts |work=Bangkok Opera website |accessdate=August 20, 2011}}</ref> {{cn-span|นับเป็นนักดนตรีกลุ่มแรกในภูมิภาคนี้{{ไหน}} {{อ้างอิง}}ที่มีความเชี่ยวชาญ[[ดนตรีสไตล์บาโรก]]เป็นอย่างดี}}{{อ้างอิง}}
 
== ประวัติ ==
ทฤษฎีเริ่มเล่นดนตรีเมื่ออายุได้ 13 ปี<ref name="nation090410">{{cite news |url=http://www.nationmultimedia.com/home/2010/09/04/opinion/It-takes-three-for-talent-to-tango-30137259.html |title=It takes three for talent to tango |newspaper=The Nation |first=Veena |last=Thoopkrajae |date=September 4, 2010 |accessdate=August 20, 2011}}</ref> พอจบการศึกษาในระดับมัธยมต้นที่[[โรงเรียนหอวัง]]{{ไม่สำคัญ}} และศึกษาต่อในระดับมัธยมปลายที่ โรงเรียนเตรียมดนตรี[[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์]] และเมื่อกำลังศึกษามัธยมศึกษาปีที่สี่ได้ปีครึ่งอาจารย์หง่าว ศิริรัตนพันธ์ และอาจารย์อาร์ต เสตะพันธุ์ ได้แนะนำเขาให้ลาออก เพราะเขามีความสามารถอยู่แล้ว และเขาเองก็ได้พบกับ[[สมเถา สุจริตกุล]]ซึ่งสมเถาได้เห็นพรสวรรค์จึงรับอุปการะเอาใว้และได้แต่งเพลงชิ้นใหญ่หลายชิ้นด้วยกัน<ref name="nation090410" /> เขามีความสามารถเล่น[[เปียโน]] และ[[ฮาร์ปซิคอร์ด]]อย่างดี
 
ในปี 2549 เขาได้เป็นที่รู้จักโด่งดัง{{อ้างอิง}}ในการแสดงดนตรี ''[[The Magic Flute]]'' ของ[[ลุดวิก ฟาน เบโทเฟน|เบโทเฟน]]<ref name="nation090410" /><ref name=operastudio>{{cite web |url=http://www.operastudio.nl/engpages/3018patalung.html |title=Trisdee na Patalung |work=Opera Studio Nederland |accessdate=August 21, 2011}}</ref> ซึ่งต่อมาในปี 2551 ''Eternity'' ซิมโฟนีของเขาได้ถูกแสดงใน[[การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์|งานสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]<ref name="nation122910" /> และถัดมาในปี 2552 เขาได้สร้างผลงานโด่งดังในเทศกาลรอสซินี ที่เมือง[[เปซาโร]]<ref>{{cite news |url=http://www.bangkokpost.com/arts-and-culture/film/17216/ |title=Orchestration of Talents with the Same Tune |newspaper=Bangkok Post |date=May 23, 2009 |accessdate=August 20, 2011}}</ref><ref name="nation122910">{{cite news |url=http://www.nationmultimedia.com/2010/12/29/life/-Genius-with-a-baton-30145401.html |title=Careful of conductor Trisdee na Patalung - his hero is the hilariously wicked Blackadder |newspaper=The Nation |first=Manote |last=Tripathi |date=December 29, 2010 |accessdate=August 20, 2011}}</ref>
 
== การทำงานในต่างประเทศ ==
ในฐานะผู้อำนวยเพลง ทฤษฎีได้ก้าวไปขั้นสูงสุด{{ไม่เป็นกลาง}}คือการอำนวยเพลงที่ [[Concertgebouw]] ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นหนึ่งในหอแสดงดนตรีที่สำคัญที่สุดในโลก{{อ้างอิง}} ที่ศิลปินอมตะ เช่น [[Gustav mahler]] และ [[Richard Strauss]] ได้อำนวยเพลง และจัดเป็นคนไทยคนแรกและคนเดียวที่ได้รับเกียรตินี้ {{อ้างอิง}}ช่วงปี พ.ศ. 2552-2554 ทฤษฎีได้รับเชิญจาก [[Nationale Reisopera]] (Dutch National Touring Opera) ไปอำนวยเพลงในมหาอุปรากรของ [[Rossini]] เรื่อง [[La Cenerentola]] (ซินเดอเรลลา) ใน 12 เมืองทั่วประเทศเนเธอร์แลนด์ และยังได้รับเชิญกลับไปอำนวยเพลงในเทศกาล [[Rossini Opera Festival]] ณ เมือง [[Pesaro]] ประเทศอิตาลีในปี 2552 และ 2553 จึงถือเป็นวาทยกรรับเชิญที่อายุน้อยที่สุดในเทศกาลเป็นเวลา 2 ปีซ้อน{{อ้างอิง}}
 
== ความสามารถด้านดนตรีไทย==
แม้ว่าทฤษฎีจะมีผลงานในระดับนานาชาติมาตลอด{{อ้างอิง}} แต่เขาก็มีความเข้าใจในดนตรีไทยอย่างลึกซึ้ง และยังสามารถเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลายชนิด {{ไม่มีความสำคัญ}}{{ไม่เป็นกลาง}}อาทิ ปี่ใน ขลุ่ย เปียโน ไวโอลิน ฮาร์พซิคอร์ด กีต้าร์ เป็นต้น ในเวลาต่อมา มีโอกาสประพันธ์เพลง Eternity (นิรันดร์) คีตาลัยถวายแด่ [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]{{อ้างอิง}} ซึ่งเพลงดังกล่าวได้นำไปบันทึกเสียงในชุด "ประโคมเพลง ประเลงถวาย" เป็นของที่ระลึก{{อ้างอิง}} และบรรเลงในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ท้องสนามหลวง{{อ้างอิง}} และเมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] ทรงเจริญพระชนมายุ 7 รอบ ทฤษฎีได้ประพันธ์เพลง "พระหน่อนาถ" เฉลิมพระขวัญ โดยนำบทกล่อมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมาบรรจุทำนองสากล ออกอากาศทางช่องโมเดิร์นไนน์ทีวี{{อ้างอิง}}
 
== ประวัติ ==
ทฤษฎีเริ่มศึกษาดนตรีเมื่ออายุ 13 ต่มปี ต่อมาเขาได้รับการสนับสนุนจาก อาจารย์[[สมเถา สุจริตกุล]]{{สนับสนุนยังไง}} และรับหน้าที่ผู้ฝึกสอนนักร้องโอเปราประจำคณะมหาอุปรากรกรุงเทพ ตั้งแต่เมื่อ อายุ 15 ปี และยังศึกษาดนตรีไทยเพิ่มเติมกับร้อยเอกสมนึก แสงอรณอรุณ ปัจจุบันทฤษฎีเป็นวาทยกรประจำวงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค และยังได้เดินทางไปแสดงในฐานะวาทยกรรับเชิญกับวงออร์เคสตราในต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ {{ไม่เป็นกลาง}}นอกจากนั้นยังเคยบรรยายพิเศษในสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ ได้แก่ [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] และ [[มหาวิทยาลัยรังสิต]]
{{อ้างอิง}}
 
== คำวิจารณ์จากนิตยสารนิตยสารโอเปร่า ==
นิตยสารโอเปร่าแห่งกรุงลอนดอนได้กล่าวถึง ทฤษฎี ณ พัทลุง ว่าเป็นศิลปินที่มีความอัจฉริยะ{{อ้างอิง}}{{โฆษณา}}เมื่อมีอายุได้ 20 ปี และเมื่อเขามีอายุ 24 ปี ก็ได้มีโอากสเป็นเป็นวาทยกรประจำวงดุริยางค์สำคัญ{{อ้างอิง}} อาทิ RAI วงดุริยางค์แห่งชาติอิตาลี โตเรนโต และ มิลาน<ref>[http://www.operasiam.net/tag/symphony/page/2/ TRISDEE CONDUCTS AND PERFORMS BEETHOVEN-MOZART-HAYDN]</ref>
 
== ผลงาน ==
* 2548 - ''Symphony No. 2'' - [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] - ผลงานชิ้นใหญ่ล่าสุดของเขา{{อ้างอิง}} คือ "Symphony No. 2" (Gli Scherzi) นำออกแสดงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 โดยวงดนตรี '''Siam Philharmonic Orchestra''' ([[วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิก]]) ปัจจุบันทฤษฎีทำงานกับ Hans Nieuwenhuis แห่ง Opera Studio Nederland
* 2549 - ''The Magic Flute''
* 2551 - ''Eternity'' - แต่งขึ้นเพื่อถวายแด่ [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]] และเพลงดังกล่าวถูกนำไปบันทึกเสียงในชุด "ประโคมเพลง ประเลงถวาย" เพื่อเป็นของที่ระลึก และบรรเลงในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ท้องสนามหลวง{{อ้างอิง}}
* 2552 - ''พระหน่อนาถ'' - เมื่อ [[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] ทรงเจริญพระชนมายุ 7 รอบ ทฤษฎี ได้อัญเชิญบทกล่อมซึ่ง ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเพื่อเตรียมการไว้สำหรับการสมโภชรับพระหน่อ หรือ พระราชโอรส ที่ใกล้ประสูติ มาแต่งเป็นเพลง โดยประพันธ์ทำนอง ซึ่งมีการผสมผสานระหว่างดนตรีไทยและสากล ขึ้นมา และร่วมกับคณะทำงาน อัญเชิญวรรคแรกของบทกล่อม มาตั้งเป็นชื่อเพลงว่า “พระหน่อนาถ” {{อ้างอิง}}
* 2554 - ''Mae Naak'' - ที่กรุงลอนดอน<ref>[http://www.fringereview.co.uk/pageView.php?pagename=Opera%20Siam%20Presents:%20Mae%20Naak,%20a%20UK%20Premiere Opera Siam Presents: Mae Naak, a UK Premiere]</ref>