ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอลทีอี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
autoMigrateToWikidata @ d:q79703
Deeyenda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
LTE ตามทฤษฎีแล้วมีความสามารถดาวโหลดได้สูงถึง 100Mbps ความเร็วอับโหลด 50Mbps และปิงต่ำกว่า 10 มิลลิวินาที โดยมีแบนด์วิทธ์อยู่ในช่วงระหว่างช่วง 1.4 เมกกะเฮิร์ตถึง 20 เมกกระเฮิร์ต
 
ในวันที่ 18 สิงหาคม 2552 ทาง [[European Commission]] ได้ประกาศลงทุนเป็นจำนวนเงิน 18 ล้าน[[ยูโร]]ในงานวิจัยและพัฒนา [[LTE Advanced]].<ref>[http://www.betanews.com/article/European-Commission-pumps-a18-million-into-LTE-research/1250618141 European Commission pumps €18 million into LTE research]</ref>
 
สำหรับในประเทศไทย กทช ได้ประกาศเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการออกใบอณุญาต 3G เป็น 3.9G เพื่อให้ทัดเทียมต่างประเทศ ตามกำหนดการคาดว่าจะสิ้นสุดการประมูล และสามารถออกใบอณุญาตได้ในปลายเดือนกันยายน โดยจะเริ่มใช้ได้ปลายปี 2553 ซึ่งหลังจากสิ้นสุดการประมูล และออกใบอณุญาติได้สำเร็จอณุญาตได้สำเร็จ ประเทศไทยจะเป็นประเทศแรกๆในเอเซียที่ใช้เทคโนโลยี LTE พร้อมๆกับประเทศญี่ปุ่น
 
ในวันที่ 1 มกราคม 2556 กสทช.ประกาศ เริ่มต้นเตรียมการประมูลคลื่นความถี่ 4G <ref>[http://www.blognone.com/node/39488 เตรียมการประมูลคลื่นความถี่]</ref>หลังจาก กสทช.ได้ประมูลใบอนุญาต 3G บนคลื่นความถี่ 2100MHz เรียบร้อยแล้ว และผู้ประกอบการกำลังดำเนินการติดตั้งให้ใช้งานได้ตามเงื่อนไขใบอนุญาต เดือนกันยายน 2556 หลังจากคลื่นความถี่ 1800 MHz ของ DPC(GSM 1800) และ Truemove(1800) ของ CAT หมดสัญญาสัมปทานเดิม กสทช. พร้อมที่จะนำคลื่น 1800MHz ที่ได้รับคืน
นำมาจัดสรรคลื่นความถี่ 4G LTE ซึ่งคาดว่าจะออกใบอนุญาตได้ ภายในสิ้นปี 2556
 
 
== อ้างอิง ==