ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงพ่อเนียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| รางวัล =
}}
 
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ([[พ.ศ. 2370]] — [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2450]]) ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่ง[[จังหวัดสุพรรณบุรี]] เป็นที่นับถือโดยทั่วไป ในด้านปาฏิหาริย์ พระพุทธคุณของท่าน มากมายยิ่งนัก ทั้งในด้านมหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด และเป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน มานานแล้ว
 
 
== ประวัติ ==
 
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ชาติภูมิชาวสุพรรณบุรี บิดาเป็นชาวบ้านซ่อง ต.มดแดง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี มารดาเป็นชาวบ้านป่าพฤกษ์ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี หลวงพ่อเนียมท่านเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2370]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ ตำบลตะค่า อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่ออายุครบกำหนดอุปสมบท ทำพิธีอุปสมบทในบวรพระพุทธศาสนา ณ วัดใกล้บ้านท่าน (สันนิษฐานว่าเป็นวัดป่าพฤกษ์ ) ภายหลังได้ศึกษาพระธรรมวินัยและมูลกัจจายน์ ที่วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร (ดังปรากฏหลักฐานนามท่านในบัญชีรายนามพระภิกษุที่จำวัดดังกล่าว) และสันนิษฐานกันว่าท่านเคยไปพำนักจำพรรษา ศึกษาวิชาความรู้จากวัดระฆังโฆษิตาราม ในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมฺรังษี) อีกด้วย หลวงพ่อเนียมมีความสนใจในทางวิปัสสนาธุระ ท่านช่วยให้การศึกษาแก่ศิษยานุศิย์อย่างเต็มที่ ท่านมีชื่อเสียงในการรักษาโรคต่างๆ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆข้างหน้าได้อย่างตาทิพย์ การถ่ายรูปท่านว่ากันว่าถ่ายไม่ติด พระเณรที่ประพฤติผิดวินัย ท่านสามารถทราบได้เองโดยไม่ต้องมีใครมาบอกท่าน มีเรื่องเล่าในกฤษดาภินิหารต่างๆ ท่านเป็นผู้ที่ความเมตตาต่อสัตว์ทุกชนิด กิจวัตรของท่านก็คือ ตื่นแต่เช้ามืด ครองจีวรแล้วปลงอาบัติ เสร็จแล้ว นั่งสนทนากับพระภิกษุในวัดเป็นการอบรมไปในตัว พ่อรุ่งเช้าจึงออกบิณฑบาต ท่านมรณภาพเมื่อวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2453]] ตรงกับต้นรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สิริอายุได้ 80 ปี อยู่ในสมณเพศได้ 60 พรรษา
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ชาติภูมิชาวสุพรรณบุรี บิดาเป็นชาวบ้านซ่อง ต.มดแดง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ไม่ทราบชื่อ ส่วนมารดาเป็นชาวบ้านป่าพฤกษ์ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ชื่อว่าเนื่อง หลวงพ่อเนียมมีพี่น้องร่วมอุทรเดียวกันหลายคน แต่ไม่ทราบชื่อ ทราบเพียงว่าหนึ่งในนั้นมีพี่สาวชื่อว่า จาด
 
หลวงพ่อเนียมท่านเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2370]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ บ้านป่าพฤกษ์ ต.ตะค่า อ.บางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาท่านบรรพชาเป็นสามเณร กระทั่งอายุครบเกณฑ์อุปสมบท จึงอุปสมบท (สันนิษฐานว่าเป็นวัดป่าพฤกษ์ อันเป็นวัดบ้านเกิดใกล้บ้านท่าน ) ภายหลังได้ศึกษาพระธรรมวินัยและมูลกัจจายน์ ที่วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร (ดังปรากฏหลักฐานนามท่านในบัญชีรายนามพระภิกษุที่จำวัดมหาธาตุฯ) และสันนิษฐานกันว่าท่านเคยไปพำนักจำพรรษา ศึกษาวิชาความรู้จากวัดระฆังโฆษิตาราม ในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมฺรังษี) อีกด้วย กระทั่งเมื่อมีอายุประมาณ40ปีจึงเดินทางกลับบ้านเกิดจำพรรษาอยู่วัดรอเจริญ เกิดขัดกับเจ้าอาวาส สุดท้ายจึงย้ายมาจำพรรษาอยู่วัดน้อย บูรณปฏิสังขรณ์วัดน้อยจากวัดร้าง ให้เป็นวัดที่เจริญขึ้นมาใหม่
 
หลวงพ่อเนียมมีความสนใจในทางวิปัสสนาธุระ ท่านช่วยให้การศึกษาแก่ศิษยานุศิย์อย่างเต็มที่ ท่านมีชื่อเสียงในการรักษาโรคต่างๆ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆข้างหน้าได้อย่างตาทิพย์ การถ่ายรูปท่านว่ากันว่าถ่ายไม่ติด พระเณรที่ประพฤติผิดวินัย ท่านสามารถทราบได้เองโดยไม่ต้องมีใครมาบอกท่านมีเรื่องเล่าในกฤษดาภินิหารต่างๆ ท่านเป็นผู้ที่ความเมตตาต่อสัตว์ทุกชนิด กิจวัตรของท่านก็คือ ตื่นแต่เช้ามืด ครองจีวรแล้วปลงอาบัติ เสร็จแล้วนั่งสนทนากับพระภิกษุในวัดเป็นการอบรมไปในตัว พ่อรุ่งเช้าจึงออกบิณฑบาต
 
ท่านมรณภาพในลักษณะคล้ายพระพุทธรูปปางไสยาสน์ เมื่อวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2450]] ตรงกับต้นรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สิริอายุได้ 80 ปี อยู่ในสมณเพศได้ 60 พรรษา
 
== สหธรรมิก ==
 
* หลวงพ่อแก้ว วัดพร้าว
* หลวงพ่อเฒ่าพราย วัดเกาะ
เส้น 34 ⟶ 44:
* หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
 
== ลูกศิษย์ ==
== ศิษย์ ==
 
* [[หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน]]
* [[หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค]]
เส้น 47 ⟶ 58:
 
== อ้างอิง ==
 
* หนังสือหลวงพ่อเนียม วัดน้อย (จัดทำโดย วัดน้อย อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี)
* หนังสือรวมสุดยอดตำนานพระคณาจารย์ทั้งหมด 180 พระองค์เกจิ
* หนังสือรวมสุดยอดพระคณาจารย์ 180 องค์
* [http://www.watpaipunmur.com/index.php?topic=267.30 ประวัติหลวงพ่อเนียม วัดน้อย]