ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19:
กล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลแต่ละชนิดมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป โดยที่ระบบของกล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลทุกชนิดพยายามปรับแต่งให้ระบบมีความเหมาะสมทั้งในด้านความเร็วในการบันทึกภาพและความละเอียดของภาพ โดยที่กล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนนั้นสามารถปรับแต่งความถี่ในการเก็บสัญญาณภาพและความละเอียดในการเก็บสัญญาณภาพ ในขณะที่กล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลชนิดจานหมุน (จานนิพโค) และกล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลชนิดอาเรย์ที่สามารถโปรแกรมได้มีความถี่ในการเก็บสัญญาณภาพและความละเอียดในการเก็บสัญญาณภาพคงที่ แต่มีความเร็วในการเก็บสัญญาณภาพสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกน ขณะนี้ในท้องตลาดนั้นกล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลชนิดจานหมุน (จานนิพโค) สามารถเก็บภาพด้วยความเร็วมากกว่า 50 ภาพต่อวินาที<ref> "Data Sheet of NanoFocus ''μsurf'' spinning disk confocal white light microscope" (pdf).</ref> ซึ่งความเร็วดังกล่าวเป็นที่ต้องการเมื่อต้องการจับภาพความเคลื่อนไหวของเซลล์สิ่งมีชิวิตขณะมีชีวิตอยู่<br />
การพัฒนาที่สำคัญที่เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญของกล้องจุลทรรศน์แบบคอนโฟคอลชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนที่ทำให้ความเร็วในการเก็บภาพสูงขึ้นได้มากกว่ามาตราฐานวีดีโอ (60 ภาพต่อวินาที) โดยการนำเอากระจกขนาดเล็กมาใช้ในการสแกนลำแสงเลเซอร์ซึ่งกระจกขนาดเล็กนี้เป็นผลของการพัฒนาของระบบไฟฟ้าเครื่องกลจุลภาค
== ภาพที่ได้จากกล้องคอนโฟคอล ==
 
<gallery>
File:Tetrachimena_Beta_Tubulin.png|[[Tubulin|β-tubulin]] in ''[[Tetrahymena]]'' (a ciliated [[protozoa]]n).
File:Confocal measurement of 1-euro-star 3d and euro.png|Partial surface profile of a 1-Euro coin, measured with a Nipkow Disk Confocal Microscope.
File:Confocal measurement of 1-euro-star 3d Reflection.png|Reflection data for 1-Euro coin.
File:Confocal measurement of 1-euro-star 3d profile 200.svg|Cross section at y=200 through profile of 1-Euro coin.
</gallery>