ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรไทใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 11:
อักษรของชาวไทเหนือในเขตใต้คงเป็นตัวเหลี่ยมหรือลิ่กถั่วงอก มีหลักฐานว่าในสมัย[[ราชวงศ์หมิง]] มีการตั้งสำนักงานหยีสี่เป้าเพื่อแปลเอกสารที่เขียนด้วยภาษาไทเหนือ แสดงว่าชาวไทใหญ่มีอักษรเป็นของตนเองมานาน
 
อักษรไทใหญ่มีพยัญชนะไม่ครบสำหรับเขียน[[ภาษาบาลี]] ทำให้เป็นไปได้ว่าชาวไทใหญ่มีอักษรใช้ก่อน[[พุทธศาสนา]]จะเข้ามาถึง เมื่อได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา ชาวไทใหญ่จึงรับ[[อักษรพม่า]]เข้ามาใช้เขียนแทนเสียงที่อักษรไทใหญ่ไม่มี
 
เอกสารภาษาไทใหญ่ที่เก่าแก่และเขียนด้วยลิ่กถั่วงอกคือ พื้นศาสนาแสน ลิ่กถั่วงอกนี้ผอม รูปเหลี่ยม เอนซ้าย จากนั้นจึงพัฒนาการเขียนมาสู่ระบบกำเยน อักษรกลมมากขึ้น และเริ่มนำอักษรพม่ามาใช้ และเพิ่มสัญลักษณ์เครื่องหมายต่างๆต่าง ๆ ต่อมาจึงพัฒนาเป็นระบบตัวมน ซึ่งพบในชาวไทใหญ่ในรัฐฉาน ส่วนชาวไทมาวยังใช้อักษรแบบเดิม
 
เมื่อเข้าสู่พุทธศตวรรษที่ 24 วรรณกรรมภาษาไทใหญ่ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาพม่า]]มากขึ้น มีการใช้ภาษาพม่าปะปนกับภาษาไทใหญ่มากขึ้น เมื่อมีการพิมพ์[[ไบเบิล]]ภาษาไทใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2428 ตัวพิมพ์ของอักษรไทใหญ่มีลักษณะกลมมนคล้ายอักษรพม่ามากขึ้น และมีเครื่องหมายเฉพาะที่ต่างไปจากอักษรไทใหญ่ในคัมภีร์
 
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 รัฐบาลของ[[สมาพันธรัฐไทใหญ่]]ได้ตั้งคณะกรรมการปฏิรูปอักษรไทใหญ่ที่เมือง[[ตองจี]] และได้ปรับปรุงอักษรไทใหญ่ใหม่เรียกว่าใหม่สูงลิ่กไทย ต่อมาใน พ.ศ. 2512 [[สภาไทใหญ่]]ได้ปรับปรุงตัวอักษรใหม่อีก และใน พ.ศ. 2517 ก็มีการปรับปรุงอักษรไทใหญ่อีกชุดหนึ่งที่เมือง[[สีป้อ]] ทำให้มีประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับอักษรไทใหญ่มากและยังหาข้อสรุปไม่ได้
=== อักษรไทใหญ่กับภาษาบาลี ===
แต่เดิม ชาวไทใหญ่ใช้ลิ่กยวนเขียน[[ภาษาบาลี]] ต่อมาพยายามเปลี่ยนมาใช้ลิ่กถั่วงอกและลิ่กตัวมน แต่อักษรไม่พอ ทำให้ไม่มีระบบการเขียนเป็นมาตรฐาน ต่อมาจึงมีการนำอักษรพม่ามาใช้เขียนภาษาบาลี ในปัจจุบัน ได้มีความพยายามที่จะเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทใหญ่อีกครั้ง มีการจัดประชุมระหว่างพระสงฆ์ไทใหญ่และชาวไทใหญ่หลายครั้งเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ใน พ.ศ. 2500 ที่ประชุมเสนอให้เขียนพระไตรปิฎกด้วยอักษรพม่าแล้วแปลเป็นภาษาไทใหญ่ที่เขียนด้วยอักษรไทใหญ่ แต่พระสงฆ์ไทใหญ่ก็ยังไม่พอใจ ใน พ.ศ. 2518 มีการจัดประชุมพระสงฆ์ไทใหญ่ที่เชียงใหม่ และได้มีการประดิษฐ์อักษรไทใหญ่สำหรับเขียนภาษาบาลี แต่ยังไม่มีระบบใดได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ
 
บรรทัด 31:
|-
| [[ไฟล์:Shan-k.png]]
| ก้ะ ไก่
| ก
|
บรรทัด 63:
| ต้ะ เต่า
| ฏ, ต
|
|-
| [[ไฟล์:Shan-th.png]]
บรรทัด 73:
| น่ะ หนู
| น, ณ
|
|-
| [[ไฟล์:Shan-p.png]]
บรรทัด 83:
| ผ้ะ ผิ้ง
| ผ, พ
|
|-
| [[ไฟล์:Shan-f.png]]
บรรทัด 103:
| ร่ะ ฤๅษี
| ร, ฤ
|
|-
| [[ไฟล์:Shan-l.png]]
บรรทัด 147:
|-
| -;
| ยักจํ้าจ้ำ
| เสียงสามัญท้ายโท
|-
| -:
| จ้ำหน้า
| จํ้าหน้า
| เสียงสามัญท้ายตรี
|-
| -.
| จํ้าใต้จ้ำใต้ (จํ้าต้าจ้ำต้า-อื)
| เสียงโทสั้น
|-
บรรทัด 169:
== อ้างอิง ==
* {{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง= ยรรยง จิระนคร (เจีย แยนจอง)
| ชื่อหนังสือ=คนไทไม่ใช่คนไทย แต่เป็นเครือญาติชาติภาษา
| URL=
| จังหวัด=กรุงเทพมหานคร
| พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์มติน
| ปี=2548
| ISBN=974-323-484-5
| หน้า=
}}
* ซาย คำเมือง. อักษรไทใหญ่และพัฒนาการของอักษรไทใหญ่ในพม่า. ใน '''การศึกษาประวัติศาสตร์และวรรณกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไท''', สรัสวดี อ๋องสกุล และ โยซิซูกิ มาซูฮารา, บรรณาธิการ. หนังสือรวมผลงานวิชาการประชุมนานาชาติไทศึกษา 22-23 มีนาคม 2544 ที่ จ. เชียงใหม่ หน้า 427 - 451
* [http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=khurtai&date=01-02-2007&group=1&gblog=29 บล็อกของนายช่างปลูกเรือน]
* [http://www.shaninform.org/Learning_Tai/index.php Learning Tai for non-Tai Speakers]
* [http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=khurtai&date=01-02-2007&group=1&gblog=30 BlogGang.com : : นายช่างปลูกเรือน - พยัญชนะไทใหญ่]
บรรทัด 185:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.shanland.org/shan/articles/resources/fonts/ ศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับรัฐฉาน] {{en icon}}
* [http://www.mongloi.org/tai/ ฟอนต์อักษรไทใหญ่ ] ''' (ภาษาไทใหญ่) '''
 
{{อักษรพราหมี}}