ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มังตาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
| name = มังตาน
| image = Schima wallichii chois (Chilaune) bank and closeup.JPG
| image_caption =
| regnum = [[Plantae]]
| unranked_divisio = [[Angiosperms]]
| unranked_classis = [[Eudicots]]
| unranked_ordo = [[Asterids]]
| ordo = [[Ericales]]
| familia = [[Theaceae]]
| genus = '''''Schima'''''
| genus_authority = [[Reinw.]] ex [[Carl Ludwig Blume|Blume]] (1823)
| binomial = ''Schima wallichii''
}}
[[imageไฟล์:Schima wallichii .JPG|thumb|right|ดอกมังตาน]]
[[imageไฟล์:Schima_wallichii_ (tree).JPG|thumb|right|ต้นมังตาน]]
 
'''มังตาน''' เป็นชื่อไม้ต้นชนิด ''Schima wallichii'' (DC.) Korth. ในวงศ์ Theaceae เปลือกชั้นในทำให้ระคายผิวหนังทําให้ทำให้เป็นเม็ดผื่นคัน ใช้เบื่อปลาได้ ชื่ออื่นๆอื่น ๆ เช่น ทะโล้, ส่วนปักษ์ใต้เรียก พันตัน, พายัพเรียก มังกะตาน สารภีดอย คายโซ่ หรือกะโซ้, กะเหรี่ยงเชียงใหม่เรียก เต่อครื่อยสะ, กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอนเรียก เส่ยือสะ, ละโว้เรียก ลำโคระ ลำพิโย๊วะ หรือลำคิโยะ, และขมุเรียก ตุ๊ดตรุ<ref>[http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=820&name=%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%99มังตาน%2C%20%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B9%89ทะโล้].E-herbarium</ref> ปัจจุบัน มังตานมีจำนวนลดลงเนื่องจากพื้นที่ป่าถูกรุกราน
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
มังตานเป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ลำต้นตรงสูงประมาณ 15-25 เมตร วัดรอบลำต้นได้ถึง 1.5 เมตร เปลือกด้านนอกขรุขระและแตกเป็นร่องลึกตามยาว มีสีเทาปนน้ำตาลอ่อน เปลือกด้านในมีสีน้ำตาลอมแดง มีเสี้ยนละเอียดสีขาวซึ่งมีความเป็นพิษต่อผิวหนัง
 
'''ใบ''' เป็นใบเดี่ยวรูปหอก ออกตามปลายกิ่งสลับกันไปมักติดเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง โคนและปลายใบเรียว ขอบใบเรียบหรือหยักตื้น ๆ ตามขอบ หลังใบมักมีสีเขียวเข้ม ท้องใบและเส้นกลางใบมีขน
 
'''ดอก''' คล้ายไข่ดาว ดอกสีขาวหรือขาวนวล ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวตามง่ามใบ ก้านดอกยาว มีกลิ่นหอม กลีบดอกและกลีบรองกลีบดอกมี 5 กลีบ มีเกสรตัวผู้จำนวนมาก สีเหลือง อยู่กลางดอก แต่มีเกสรตัวเมียเพียงอันเดียว
 
'''ผล''' ค่อนข้างกลม เปลือกแข็ง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5-3 ซม. ผลแก่สีน้ำตาลเข้ม และแตกออกตามรอยประสานเป็น 4-5 ส่วน แต่ละส่วนมีเมล็ด 4-5 เมล็ด<ref>[http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?Botanic_ID=812].ระบบสืบค้นข้อมูล องค์การสวนพฤกษศาสตร์</ref>
 
== การกระจายพันธุ์ ==
พบมีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้างในป่า กระจัดกระจายทั่วประเทศไทย พบมากใน[[ป่าดิบชื้น]] [[ป่าดิบแล้ง]]หรือ[[ป่าดิบเขา]]ที่ระดับความสูง 2,000 เมตร และ[[ป่าเบญจพรรณ]]ทั่วไปตามเขาที่ระดับความสูงประมาณ 600 เมตร พบมากทาง[[ภาคเหนือ]] [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และ[[ภาคใต้]]ของประเทศไทย <ref>[http://www.firstroyalfactory.org/main.php?m=wiki&keyword=%B7%D0%E2%C5%E9].พิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงที่ 1 (ฝาง) </ref> มีการขยายพันธุ์
โดยเมล็ด<ref>[http://www.firstroyalfactory.org/main.php?m=wiki&keyword=%B7%D0%E2%C5%E9].พิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงที่ 1 (ฝาง) </ref>
 
== ประโยชน์ ==
 
'''เปลือก''' มีสีเทาใช้เป็นสีผสมอาหาร
 
'''เนื้อไม้''' ใช้ทำฟืนสำหรับนึ่งเมี่ยง มีสีน้ำตาลอมแดง มีเสี้ยนละเอียดสีขาว ใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือนทำพื้นบ้าน ฝาและกระดานได้ดี
 
บรรทัด 48:
ใช่แต่งกลิ่นธูป เบือปลา<ref>[http://www.biogang.net/biodiversity_view.php?menu=biodiversity&uid=1722&id=20076].BIOBANG</ref>
 
''' ดอก'''
แก้ขัดเบา , ลมบ้าหมู, ลมชัก
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มังตาน"