ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอนแชร์โต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''คอนแชร์โต''' ({{lang-iten|Concertoconcerto}}) คือ เป็นการประพันธ์เพลงรูปแบบหนึ่งส่วนมากจะมีสามตอน (Three-parts)ในอัตราจังหวะเร็ว-ช้า-เร็ว ส่วนที่สำคัญที่สุดของคอนแชร์โตคือ ต้องมีการเล่นประชันกัน โดยอาจจะเป็นการเดี่ยว[[เครื่องดนตรี]]ประชันกับวงดนตรี หรือกลุ่มเครื่องดนตรีประชันกับวงดนตรีก็ได้
 
== ความเป็นมาของคอนแชร์โตในแต่ละยุค ==
คอนแชร์โตเริ่มมีมาตั้งแต่[[ยุคบาโรค (ดนตรี)|ยุคบาโรค]] โดยเริ่มแรกนั้นเป็นการประชันกันระหว่างกลุ่มนักดนตรีเดี่ยวกับวงดนตรี ต่อมาใน[[ยุคคลาสสิก (ดนตรี)|ยุคคลาสสิก]]ฝีมือการเดี่ยวเครื่องดนตรีของนักดนตรีพัฒนาขึ้นไปอีกจนนักดนตรีสามารถเดี่ยวประชันกับวงดนตรีทั้งวงได้ ในยุคคลาสสิกจึงเกิดการประชันระหว่างเดี่ยวนักดนตรี (Solosolo) กับวงดนตรี ส่วนบทบาทของวงดนตรีก็คือการเล่นสนับสนุนผู้เดี่ยวเท่านั้น มิได้เป็นการประชันด้วยบทบาทที่เท่าเทียมกัน จนถึง[[ยุคโรแมนติก (ดนตรี)|ยุคโรแมนติก]]วงดนตรีก็เล่นประชันกับผู้เดี่ยวด้วยบทบาทที่ไม่แตกต่างกันมากนัก จนถึงศตวรรษที่ 20 ความสามารถของนักดนตรีทุกคนในวง มีความสามารถบรรเลงเดี่ยวได้ นักแต่งเพลงจึงสร้างแนวเดี่ยวให้นักดนตรีในวงได้มีโอกาสเดี่ยวได้เหมือนกันหมด
 
== ประเภทของคอนแชร์โต ==
;คอนแชร์โตกลุ่มเดี่ยว (Concertoconcerto Grossogrosso)
: เป็นบทเพลงที่มีการประชันกันระหว่างกลุ่มเดียวกับวงดุริยางค์ เรียกกลุ่มเดี่ยวว่า คอนแชร์ติโน (Concertinoconcertino) เรียกกลุ่มใหญ่หรือวงดนตรีทั้งวงว่า ริปิเอโน (Ripienoripieno) กลุ่มเดี่ยวมักประกอบด้วยนักดนตรี 2-5 คน มีแนวเดี่ยวร่วมกันด้วยลีลาที่เด่นกว่าวง สังคีตลักษณ์ที่พบในคอนแชร์โตกลุ่มเดี่ยวมักมีรูปแบบที่ไม่แน่นอน พบทั้งแบบสองตอน (Twotwo-part)และสามตอน (Threethree-part) แต่ที่นิยมใช้ในคอนแชร์โตกลุ่มเดี่ยว ก็คือ กระบวนการที่เรียกว่า ริตอร์เนลโล (Ritornelloritornello) ซึ่งมีลักษณะคล้ายรอนโด
 
;คอนแชร์โตเดี่ยว (Solosolo concerto)
: เป็นบทเพลงที่มีการประชันกันระหว่างเครื่องดนตรีเดี่ยวกับวงดุริยางค์ คอนแชร์โตเดี่ยวประกอบด้วย 3 ท่อน ในอัตราเร็ว-ช้า-เร็ว สังคีตลักษณ์ในแต่ละท่อนมีความชัดเจนมากกว่าในคอนแชร์โตกลุ่มเดี่ยว เครื่องดนตรีที่นิยมในการเดี่ยว ได้แก่ เปียโน ไวโอลิน
 
;คอนแชร์โตวงดุริยางค์ (Orchestralorchestral concerto)
: เป็นบทเพลงที่มีการประชันกันระหว่างนักดนตรีทุกคน หรือเกือบทุกคนในวงดุริยางค์ ไม่ได้มีการแยกกลุ่มที่เด่นชัด คอนแชร์โตชนิดนี้เกิดขึ้นเพราะความสามารถของนักดนตรีในวงอยู่ในขั้นที่แสดงเดี่ยวได้ทุกคน นักแต่งเพลงจึงให้ทุกแนวเล่นด้วยเทคนิคยากๆ ในระดับเดี่ยว แต่จะไม่มีนักดนตรีคนใดคนหนึ่งเด่นกว่าคนอื่นในวง สังคียลักษณ์ที่พบในคอนแชร์โตวงดุริยางค์ค่อนข้างจะมีความอิสระ ไม่ตายตัว และจะพบบทเพลงประเภทนี้ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เท่านั้น
 
== ตัวอย่างเพลงประเภทคอนแชร์โตกลุ่มเดี่ยว (Concertoconcerto Grossogrosso) ==
* Christmas Concerto - Corelli
* Brandenburg Concerto - Bach
บรรทัด 21:
* Concerto Grosso no.1 - Bloch
 
== ตัวอย่างเพลงประเภทคอนแชร์โตเดี่ยว (Solosolo concerto) ==
 
;เปียโนคอนแชร์โต