ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดับเบิล อินทิเกรตเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ใน ทฤษฎีระบบควบคุม '''ดับเบิล อินทิเกรตเตอร์''' (double integrator) คือตัว...
 
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
ใน [[ทฤษฎีระบบควบคุม]] '''ดับเบิล อินทิเกรตเตอร์''' (double integrator) คือตัวอย่างหนึ่งของแบบจำลองระบบควบคุมอันดับสอง <ref name=Maxwell1867>{{cite journal | author = Venkatesh G. Rao and Dennis S. Bernstein | title = Naive control of the double integrator | journal = IEEE Control Systems Magazine | version = | publisher = | year = 2001 | url = http://www-personal.umich.edu/~dsbaero/others/25-DoubleIntegrator.pdf | accessdate = 2012-03-04
}}</ref> โดยแบบจำลองนี้สามารถอธิบายพลวัตของมวลที่เคลื่อนที่ในปริภูมิหนึ่งมิติภายใต้อิทธิพลของสัญญาณขาเข้าแปรตามเวลา <math>\textbf{u} (t)</math>.
 
== แบบจำลองสมการสถานะ ==
บรรทัด 11:
:<math> \textbf{y} (t) = \begin{bmatrix} 1& 0\end{bmatrix}\textbf{x} (t).</math>
จะเห้นได้ว่าสัญญาณขาออก <math>\textbf{y}</math> คืออนุพันธ์อันดับสองของสัญญาณขาเข้านั้นเอง <math>\textbf{u}</math> และนี้จะเป็นที่มาของการเรียกระบบเช่นนี้ว่า ดับเบิล อินทิเกรตเตอร์
== ฟังก์ชันส่งผ่าน ==
== ฟังก์ชั่นส่งผ่าน ==
เราสามารถหา[[ฟังก์ชันส่งผ่าน]] ดับเบิล อินทิเกรตเตอร์ ได้โดยอาศัยการแปลง[[การแปลงลาปลาส|การแปลงลาปลาซ]] ของสมการสถานะซึ่งเราจะได้ว่า
:<math>\frac{Y (s)}{U (s)} = \frac{1}{s^2}.</math>