ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฆาตกรหั่นศพแห่งคลีฟแลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "align=center| " → "" +แทนที่ "scope="col" width="50"| " → "" +แทนที่ "scope="col" width="120"| " → "" +แทนที่ "“" → """ +แทนที่ "”" → """ ด้วย[[WP:iScript|ส...
บรรทัด 38:
นักวิจัยส่วนใหญ่เห็นว่า ผู้ตายที่แน่ชัดที่สุดมีสิบสองคน แม้ว่าปัจจุบันมีพยานหลักฐานใหม่ที่ยันว่า ที่แน่ชัดควรเป็นสิบสามคน รวมเอาหญิงนิรนามที่เรียกกันว่า "นางทะเลสาบ" เข้าไว้ด้วย ในบรรดาผู้ตายสิบสองคนดังกล่าวนี้ มีเพียงสองคนที่สามารถพิสูจน์เอกลักษณ์ได้ ที่เหลืออีกอีกสิบคน แบ่งเป็น ชายหกคน ซึ่งเรียก [[จอห์น โด|นาย ก ถึงนาย ฉ]] และเป็นหญิงอีกสี่คน ซึ่งเรียก [[จอห์น โด|นาง ช ถึงนาง ญ]]
 
{|class="wikitable sortable" style="text-align:center;font-size: 9pt"
|-
! scope="col" width="50"| ลำดับที่พบศพ
! scope="col" width="120"| ผู้ตาย
! scope="col" width="120"| วันที่พบ
! scope="col" width="150"| สถานที่พบ
! scope="col" width="350"| รายงานการชันสูตรพลิกศพ
! scope="col" width="120"| เวลาที่น่าจะตาย
! scope="col" width="120"| วันที่ถูกฆ่า
! scope="col" width="50"| ลำดับที่น่าจะถูกฆ่า
|-
| 1
| align=center| 1
| align=center| นาย ก
| align=center| 23 กันยายน ค.ศ. 1935
| align=center| บริเวณเขาแจ็กแอส (Jackass Hill) ที่ลำน้ำคิงส์บิวรี ใกล้ถนนตะวันตกที่ 49 (East 49th Avenue) กับถนนปราฮา (Praha Avenue)
| align=center| ไม่อาจพิสูจน์เอกลักษณ์ได้จนบัดนี้ ส่วนศีรษะนั้นพบแล้ว
| align=center| เบื้องต้น ประเมิณว่าน่าจะตายมาแล้วเจ็ดถึงสิบวันก่อนพบศพ ต่อมาเปลี่ยนเป็นสามถึงสี่สัปดาห์ก่อนพบศพ
| align=center| เดือนสิงหาคมหรือกันยายน ค.ศ. 1935
| 1
| align=center| 1
|-
| 2
| align=center| 2
| align=center| เอ็ดเวิร์ด ดับเบิลยู. แอนแดรสซี <br> (Edward W. Andrassy)
| align=center| 23 กันยายน ค.ศ. 1935
| align=center| บริเวณเขาแจ็กแอส ที่ลำน้ำคิงส์บิวรี
| align=center| พบศพของเอ็ดเวิร์ดห่างจากศพของนาย ก ไปสามสิบฟุต ส่วนศีรษะนั้นพบแล้ว
| align=center| สองถึงสามวันก่อนพบศพ
| align=center| กันยายน ค.ศ. 1935
| 2
| align=center| 2
|-
| 3
| align=center| 3
| align=center| ฟลอเรนซ์ เจเนวีฟ พอลิลโล <br> (Florence Genevieve Polillo) <br> (aliasหรือ มาร์ติน (Martin)
| align=center| 26 มกราคม ค.ศ. 1936
| align=center| ระหว่างซอย 2315 และซอย 2325 ของถนนตะวันออกที่ 20 ในใจเมืองคลีฟแลนด์
| align=center| ร่างถูกซอยเป็นชิ้น ๆ ส่วนศีรษะนั้นยังไม่พบ
| align=center| สองถึงสี่วันก่อนพบศพ
| align=center| มกราคม ค.ศ. 1936
| 3
| align=center| 3
|-
| 4
| align=center| 4
| align=center| นาย ข
| align=center| 5 มิถุนายน ค.ศ. 1936
| align=center| ลำน้ำคิงส์บิวรี
| align=center| ถูกตัดศีรษะทั้งเป็น และศีรษะก็พบแล้ว'''†'''
| align=center| สองวันก่อนพบศพ
| align=center| มิถุนายน ค.ศ. 1936
| 5
| align=center| 5
|-
| 5
| align=center| 5
| align=center| นาย ค
| align=center| 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1936
| align=center| บริเวณบิกครีก (Big Creek), [[Brooklyn, Ohio|นครบรูกลิน]] (City of Brooklyn) ตะวันตกของเมืองคลีฟแลนด์
| align=center| ถูกหั่นร่างกายทั้งเป็น ส่วนศีรษะนั้นพบแล้ว ผู้ตายคนนี้เป็นเพียงคนเดียวที่ตรวจพบในทางตะวันตกของเมือง
| align=center| สองเดือนก่อนพบศพ
| align=center| พฤษภาคม ค.ศ. 1936
| 4
| align=center| 4
|-
| 6
| align=center| 6
| align=center| นาย ง
| align=center| 10 กันยายน ค.ศ. 1936
| align=center| ลำน้ำคิงส์บิวรี
| align=center| พบศพเพียงท่อนบน ส่วนท่อนล่างตั้งแต่ตะโพกลงมานั้นนั้นไม่เหลือซากให้พบ ส่วนศีรษะก็ไม่พบ และไม่สามารถพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วย
| align=center| สองวันก่อนพบศพ
| align=center| กันยายน ค.ศ. 1936
| 7
| align=center| 7
|-
| 7
| align=center| 7
| align=center| นาง ช
| align=center| 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1937
| align=center| [[Euclid Beach Park|อุทยานหาดยูคลิด]] (Euclid Beach Park) บนชายฝั่งของ[[Lake Erie|ทะเลสาบเอรี]] (Lake Erie)
| align=center| มีศพหญิงอีกศพพบในจุดเดียวกันเมื่อ ค.ศ. 1934 แต่ไม่นับกันว่าเป็นผู้ตายโดยฆาตกรหั่นศพแห่งคลีฟแลนด์นี้ หญิงนี้เรียกกันว่า "นางทะเลสาบ” (The Lady of the Lake)ทะเลสาบ" และศีรษะของนางทะเลสาบก็ไม่พบจนบัดนี้
| align=center| สามถึงสี่วันก่อนพบศพ
| align=center| กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1937
| 8
| align=center| 8
|- b
| 8
| align=center| 8
| align=center| นาง ซ
| align=center| 6 มิถุนายน ค.ศ. 1937
| align=center| ใต้สะพาน [[Hope Memorial Bridge|สะพานอนุสรณ์โฮป]] (Hope Memorial Bridge) ซึ่งสมัยนั้นเรียก สะพานลอเรน-คาร์เนจี (Lorain-Carnegie bridge)
| align=center| เป็นผู้ตายคนเดียวที่เป็นชาวอเมริกันพื้นเมือง (คนดำ) ศีรษะถูกตัด และซี่โครงถูกรื้อหายไป บัดนี้ พบศีรษะแล้ว'''‡'''
| align=center| หนึ่งปีก่อนพบศพ
| align=center| มิถุนายน 1936
| 6
| align=center| 6
|-
| 9
| align=center| 9
| align=center| นาย จ
| align=center| 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1937
| align=center| โผล่ออกมาจาก[[Cuyahoga River|น้ำคูยาโฮกา]] (Cuyahoga River) แถวแฟลตรูหนูคลีฟแลนด์
| align=center| พบแต่ร่าง แต่ศีรษะไม่พบ
| align=center| สองถึงสามวันก่อนพบศพ
| align=center| กรกฎาคม ค.ศ. 1937
| 9
| align=center| 9
|-
| align=center| 10
| align=center| นาง ฌ
| align=center| 8 เมษายน ค.ศ. 1938
| align=center| น้ำคูยาโฮกา แถวแฟลตรูหนูคลีฟแลนด์
| align=center| พบแต่แข้ง ศีรษะและส่วนอื่น ๆ ของร่างกายนั้นหาพบไม่ และเป็นผู้ตายคนเดียวที่ปรากฏสารเคมีในร่างกายเมื่อถูกฆ่า
| align=center| สามถึงห้าวันก่อนพบ
| align=center| เมษายน ค.ศ. 1938
| align=center| 12
|-
| align=center| 11
| align=center| นาง ญ
| align=center| 16 สิงหาคม ค.ศ. 1938
| align=center| ถนนตะวันออกที่ 9 แถวเลกชอร์ดัมป์ (Lakeshore Dump)
| align=center| พบศพ และพบศีรษะ
| align=center| สี่ถึงหกเดือนก่อนพบศพ
| align=center| กุมภาพันธ์ถึงเมษายน ค.ศ. 1938
| align=center| 11
|-
| align=center| 12
| align=center| นาย ฉ
| align=center| 16 สิงหาคม ค.ศ. 1938
| align=center| ถนนตะวันออกที่ 9 แถวเลกชอร์ดัมป์
| align=center| พบพร้อมกันกับศพของนาย จ ศพของนาย ฉ ถูกตัดศีรษะ และศีรษะนั้นพบถูกยัดอยู่ในกระป๋อง
| align=center| เจ็ดถึงเก้าเดือนก่อนพบศพ
| align=center| พฤศจิกายน ค.ศ. 1937 ถึงมกราคม ค.ศ. 1938
| align=center| 10
|}
 
: '''†''' ผู้ตายคนนี้ มีรอยสักประหลาดหลายรอยอยู่บนร่างกาย รอยหนึ่งเป็นชื่อคน ว่า "เฮเลนกับพอล”ล" (Helen and Paul) อีกรอยเป็นชื่อย่อ ว่า "ดับเบิลยู.ซี.จี." (W.C.G.) กางเกงในที่สวมอยู่กับศพมีตราร้านซักรีด ระบุชื่อย่อของเจ้าของกางเกงในว่า "เจ.ดี." (J.D.) มีชาวเมืองคลีฟแลนด์นับพันเข้าชมศพบรรจุโลงและหน้ากากศพซึ่งจัดแสดงที่ [[นิทรรศการเกรตเลกส์]] (Great Lakes Exposition) แต่ก็ไม่ช่วยพิสูจน์เอกลักษณ์ของผู้ตาย
 
: '''‡''' ผู้ตายคนนี้ เป็นไปได้ว่า คือ "โรส วอลเลส”ลเลส" (Rose Wallace) เจ้าพนักงานตำรวจตรวจพิสูจน์ฟันของผู้ตายแล้ว พบว่า มีโครงสร้างพันธุกรรมอย่างเดียวกับชายที่แสดงตัวและระบุว่าผู้ตายน่าจะเป็นมารดาของตน โชคร้ายที่พนักงานแพทย์ผู้ตรวจพิสูจน์ได้ตายลงก่อน ประกอบกับที่ผู้ตายนั้นตายมาเป็นปี โดยที่ศพหายไปกว่าสิบเดือนถึงพบ การพิสูจน์เอกลักษณ์จึงกลายเป็นพ้นวิสัยไป
 
=== ผู้ที่น่าจะตายเนื่องในฆาตกรรมต่อเนื่องนี้ ===
 
มีการถกกันว่า มีอีกหลายคนที่น่าจะถูกฆ่าเนื่องในฆาตกรรมต่อเนื่องนี้ ในจำนวนนั้น รายแรก เป็นสตรีนิรนาม ได้ชื่อว่า "นางทะเลสาบ”ทะเลสาบ" เพราะพบศพของเธอใกล้หาดยูคลิด บนชายฝั่งทะเลสาบเลกเอรี เมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1934 อันเป็นจุดเดียวกับที่พบศพของนาง ช เนื่องจากถูกพบก่อนใครเพื่อน จึงมีผู้เรียกศพของหญิงนี้ว่า "นางหมายเลข 0”0" (Victim Zero) ด้วย
 
ศพชายนิรนามศีรษะขาดอีกศพ พบอยู่ใน[[รถไฟบรรทุก]] (boxcar) ที่เมือง[[นิวแคสเซิล]] (New Castle) รัฐเพนซิลเวเนีย เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1936 ส่วนศพศีรษะขาดอีกสามราย พบอยู่ในรถไฟบรรทุกใกล้เมือง[[แมกคีส์ร็อกส์]] (McKees Rocks) รัฐเดียวกัน เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 ศพทั้งหมดมีร่องรอยบาดแผลอย่างเดียวกับในศพทั้งสิบสองข้างต้น มีศพถูกชำแหละอีกจำนวนหนึ่งพบอยู่ในหนองใกล้เมืองนิวแคสเซิล รัฐเพนซิลเวเนีย ในช่วง ค.ศ. 1921 ถึง 1934 และ ค.ศ. 1939 ถึง 1942
เส้น 173 ⟶ 174:
วันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1939 แฟร็ง โดเลซัล (Frank Dolezal) ชาวเมืองคลีฟแลนด์ ถูกมาร์ทิน แอล. โอ'ดอนเนล (Martin L. O'Donnell) นายอำเภอจับ โดยสงสัยว่าฆ่าฟรอเรนซ์ พอลิลโล แต่หกเดือนต่อมา เขาตายในห้องขังที่[[เทศมณฑลคูยาโฮกา]] (Cuyahoga County) การชันสูตรพลิกศพของแฟร็งพบว่า ซี่โครงหักหกซี่ อันเป็นความบาดเจ็บที่เพื่อนร่วมห้องขังยืนยันว่า ไม่เคยมีเมื่อตอนถูกจับ นักวิจัยส่วนใหญ่เชื่อว่า ไม่มีพยานหลักฐานยืนยันว่าแฟร็งเกี่ยวข้องกับฆาตกรรม แม้ว่าเขาจะรับสารภาพว่าฆ่าฟรอเรนซ์ พอลิลโลก็ตาม แต่ก็เชื่อว่าเพื่อป้องกันตนเท่านั้น นอกจากนี้ ก่อนเขาตาย เขายังถอนคำรับสารภาพที่เคยให้ไว้ทั้งหมดด้วย โดยกล่าวว่า ตนเองถูกซ้อมให้รับสารภาพ
 
ดอกเตอร์ฟรานซิส อี. สวีนีย์ (Francis E. Sweeney) เป็นผู้ต้องสงสัยรายใหญ่อีกราย ตามการสืบสวนใน ค.ศ. 1938 ซึ่งพบข้อมูลสำคัญว่า ช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ดอกเตอร์ฟรานซิสเคยทำงานในหน่วยแพทย์ผ่าตัดสนาม อีเลียต เนสได้ถามปากคำดอกเตอร์ฟรานซิสเป็นการส่วนตัวด้วย โดยอีเลียตเรียกเขาด้วยรหัส "เกย์ลอร์ด ซุนด์ไฮม์”ซุนด์ไฮม์" (Gaylord Sundheim) อีเลียตกล่าวว่า ดอกเตอร์ฟรานซิส "ไม่ผ่าน”ผ่าน" เครื่องจับเท็จถึงสองครั้ง การจับเท็จทั้งสองดำเนินการโดย ลีโอนาร์ด คีเลอร์ (Leonard Keeler) ผู้ชำนัญพิเศษด้านจับเท็จ ซึ่งลีโอนาร์ดกล่าวแก่อีเลียตว่า "คุณจับถูกคนแล้ว”แล้ว" ("You has your man”man") อย่างไรก็ดี อีเลียตรู้สึกว่า โอกาสที่จะดำเนินคดีแก่ดอกเตอร์ฟรานซิสโดยสะดวกนั้นมีน้อยมาก เนื่องจากดอกเตอร์ฟรานซิสเป็นญาติสนิทของ [[มาร์ทิน แอล. สวีนีย์]] (Martin L. Sweeney) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และคู่แข่งทางการเมืองของอีเลียต มาร์ทินนั้นจ้องเล่นงานอีเลียตเรื่องที่เขาจับคนร้ายผิดคนอยู่ทุกฝีก้าว
 
แม้ไม่มีความคืบหน้าหรือความเกี่ยวพันใด ๆ อันจะยังให้เจ้าพนักงานตำรวจจัดว่าเขาเป็นผู้ต้องสงสัยก็ตาม ดอกเตอร์ฟรานซิสก็มอบตัว และถูกกักขังไว้ในโรงพยาบาลทหารผ่านศึก (Veterans' Hospital) ที่เมือง[[เดย์ทัน]] (Dayton) รัฐโอไฮโอ เพื่อรับการบำบัดโดยสมัครใจ หลังจากนั้น ปรากฏว่า ฆาตกรรมต่อเนื่องก็ไม่เกิดขึ้นอีกเลย และดอกเตอร์ฟรานซิสตายที่โรงพยาบาลนั้นใน ค.ศ. 1964
 
ใน ค.ศ. 1997 มีทฤษฎีแพร่กระจายไปว่า ฆาตกรรมต่อเนื่องนี้อาจไม่ได้กระทำโดยบุคคลเพียงคนเดียว "ไอ้บ้าฆ่าหั่นศพแห่งลำน้ำคิงส์บิวรี”คิงส์บิวรี" อาจมีหลายคนก็ได้ ทฤษฎีนี้ตั้งอยู่บนสมมุติฐานที่ว่า ผลการชันสูตรพลิกนั้นยังไม่เป็นที่ยุติ อาร์เธอร์ เจ. เพียร์ซ (Arthur J. Pearce) [[พนักงานแยกธาตุ]] (analyst) ประจำเทศมนฑลคูยาโฮกา กล่าวว่า การพิเคราะห์ของเขายังไม่เป็นที่แน่ใจว่า รอยตัดแต่ละศพนั้นเป็นการกระทำของผู้เชี่ยวชาญหรือมือสมัครเล่น สิ่งเดียวที่ทราบแน่ชัดมีเพียงว่า ศพผู้ตายทุกคนถูกชำแหละเท่านั้น<ref>{{cite book|title = The Maniac In The Bushes|last = Bellamy|first = John|publisher = [[Gray & Co.]]|origdate = 1997|isbn = 1886228191|location = Cleveland, OH|format = paperback|accessdate=2010-11-23}}</ref>
 
== เชิงอรรถ ==