204
การแก้ไข
(→ไทย) |
|||
พระราชบัญญัติล้มละลายไม่ได้จำกัดไว้ว่าผู้ที่ล้มละลายจะต้องเป็นบุคคลประเภทใด ดังนั้น ไม่ว่าบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลประเภทใดก็สามารถล้มละลายได้ ต่างจากการฟื้นฟูกิจการที่จะต้องเป็นบริษัทจำกัดหรือบรัษัทมหาชนจำกัดเท่านั้น โดยกฎหมายกำหนดวิธีการขอให้ลูกหนี้ล้มละลายไว้ 5 วิธี ดังนี้
1. เจ้าหนี้ธรรมดาฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลาย <ref>มละลาย</ref>
2. เจ้าหนี้มีประกันฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลาย <ref>มละลาย</ref>
3. เจ้าหนี้ฟ้องขอให้จัดการทรัพย์มรดกของลูกหนี้ที่ตาย <ref>มาตรา 82 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref>
4. ผู้ชำระบัญชีร้องขอให้นิติบุคคลล้มละลาย <ref>และ</ref>
5. เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอให้หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดล้มละลายตามห้างหุ้นส่วนสามัญ <ref>มา่ตรา 89 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref>
อย่างไรก็ตาม กฎหมายล้มละลายของไทยไม่อนุญาตให้ลูกหนี้ร้องขอให้ตัวเองล้มละลายได้ แต่ลูกหนี้สามารถร้องขอให้ตัวเองฟื้นฟูกิจการได้
นิยามของคำว่า "เจ้าหนี้มีประกัน” มีบัญญัติไว้ในมาตรา 6 แห่งประมวลกฎหมายล้มละลาย ว่าหมายความว่า เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วงหรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ
การที่เจ้าหนี้จะฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลายในศาลไทย ลูกหนี้จะต้องมีภูมิลำเนาหรือประกอบธุรกิจในประเทศไทยหรือเคยมีภูมิลำเนาหรือประกอบธุรกิจในประเทศไทยย้อนหลังไป 1 ปี<ref>มาตรา 7 พระราชบัญญัติล้มละลาย</ref> และจะต้องพิจารณาก่อนว่าเจ้าหนี้ที่มาฟ้องเป็นเจ้าหนี้ธรรมดาหรือเจ้าหนี้มีประกัน
==== การฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลายโดยเจ้าหนี้ธรรมดา ====
การที่เจ้าหนี้ธรรมดาจะฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลาย จะต้องพิสูจน์ให้ได้ว่า
▲1. ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว กล่าวคือ มีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สิน
2. เป็นหนี้ไม่น้อยกว่าหนึ่งล้านบาทในกรณีที่ลูกหนี้เป็นบุคคลธรรมดา หรือสองล้านบาทหากเป็นนิติบุคคล และ
ทั้งนี้ แม้ว่าหนี้ดังกล่าวจะยังไม่ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ก็สามารถนำมาฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลายได้
==== การฟ้องให้ลูกหนี้ล้มละลายโดยเจ้าหนี้มีประกัน ====
ส่วนเจ้าหนี้มีประกัน เช่น เจ้าหนี้จำนอง นอกจากจะต้องพิสูจน์ตามหลักเกณฑ์
=== การพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย ===
เมื่อ
=== คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดและการขอรับชำระหนี้ ===
เมื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว ศาลจะแจ้งคำสั่งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะโฆษณาคำสั่งดังกล่าวในหนังสือพิมพ์และราชกิจจานุเบกษา ส่วนลูกหนี้จะถูกจำกัดสิทธิในการจัดการทรัพย์สินหรือกิจการของตน โดยจะมีเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้ามาทำหน้าที่
เมื่อโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว
ทั้งนี้ ลูกหนี้ที่ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดมีสิทธิขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย โดยขอชำระหนี้บางส่วน หรือขอชำระหนี้เป็นอย่างอื่น ถ้าการประนอมหนี้ก่อนล้มละลายสำเร็จก็ไม่ต้องเป็นบุคคลล้มละลาย แต่หากประนอมหนี้ไม่สำเร็จ หรือไม่มีการขอประนอมหนี้ ลูกหนี้ก็จะถูกพิพากษาให้ล้มละลายต่อไป
<ref>คำบรรยายวิชากฎหมายล้มละลายระดับชั้นเนติบัณฑิต</ref>
[[en:Bankruptcy]]
[[หมวดหมู่:กฎหมาย]]
|
การแก้ไข