ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวนอิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Paopaolnw999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ความเห็นส่วนตัว ตัดออก
บรรทัด 19:
| attributes = มหากรุณา
}}
'''กวนอิม''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ '''กวนอิน''' ตามสำเนียงกลาง ({{zh-all|c=觀音|p=Guān Yīn}}; {{lang-en|Guan Yin}}) พระ[[โพธิสัตว์]] ของ[[พระพุทธศาสนา]]ฝ่าย[[มหายาน]] เป็นองค์เดียวกันกับ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]]ในภาษา[[ภาษาสันสกฤต]] ซึ่งมีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานใน[[อินเดีย]] และได้ผสมผสานกับความเชื่อพื้นถิ่นดั้งเดิมของจีน คือตำนานเรื่อง'''พระธิดาเมี่ยวซ่าน ''' ซึ่งเป็นความเชื่อพื้นถิ่นดั้งเดิมของจีนจนก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตร ซึ่งเป็นการผสมผสานกลมกลืนทางความเชื่อที่ปราศจากข้อขัดแย้ง เนื่องจากใน[[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]]ได้อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรนั้นสามารถแบ่งภาคเพื่อโปรดสรรพสัตว์ได้มากมายทั้งปางบุรุษและสตรี และเป็นธรรมดาของพระโพธิสัตว์มหายานที่เมื่อเข้าไปสู่ดินแดนอื่นทั้ง[[ทิเบต]] [[จีน]] หรือ[[ญี่ปุ่น]] ย่อมผสมผสานกลมกลืนได้กับเทพท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างในกรณีพระอวโลกิเตศวรนี้ '''Sir Charles Eliot''' ได้ตั้งข้อสังเกตว่า "คงเนื่องมาจากความสับสนทางความคิดของชาวจีนในยุคนั้น ซึ่งบูชาเทพเจ้าต่างๆต่าง ๆ ของตนอยู่แล้ว และเมี่ยวซ่านก็เป็นเทพวีรชนดั้งเดิมอยู่ก่อน พออารยธรรมพระโพธิสัตว์จากอินเดียแผ่เข้าไปถึง ได้เกิดการผสานทางวัฒนธรรมเปลี่ยนชื่อเสียงคงไว้เพียงแต่คุณลักษณะต่าง ๆ พอให้แยกออกว่าเป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์"
 
== [[พระโพธิสัตว์]]กวนอิมในตำนานฝ่ายจีน ==
บรรทัด 30:
ทันใดนั้นปรากฏมีเสือ[[เทวดา]]ตัวหนึ่งได้นำเจ้าหญิงขึ้นพาดหลังแล้วเผ่นหนีไปที่เขาเซียงซัน ต่อมา เทพไท่ไป๋ได้แปลงร่างเป็นชายชรามาโปรดเจ้าหญิง ชี้แนะเคล็ดวิธีการบำเพ็ญเพียรเครื่องดับทุกข์ จนสามารถบรรลุมรรคผลสำเร็จธรรม วันที่ 19 เดือน 6 ข้างฝ่ายพระบิดาเข้าพระทัยว่า เจ้าหญิงถูก[[เสือ]]คาบไปกินเสียแล้ว จึงไม่ได้ติดใจตามราวีอีก
 
ต่อมาไม่นานบาปกรรมที่พระองค์ก่อไว้ส่งผล เกิดป่วยด้วยโรคร้ายแรง ไม่มียารักษาให้หายได้ เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านได้ทรงทราบด้วยญาณวิถีว่า พระบิดากำลังประสบเคราะห์กรรมอย่างหนัก ด้วยความกตัญญูกตเวทีเป็นเลิศ มิได้ถือโทษโกรธการกระทำพระบิดาแม้แต่น้อย ทรงได้สละดวงตาและแขนสองข้าง เพื่อรักษาพระบิดาจนหายจากโรคร้าย ว่ากันว่า ภายหลังสำเร็จ[[อรหันต์]] ได้ดวงตาและพระกรคืน เคยแสดงปาฏิหาริย์เป็นปาง[[กวนอิมพันมือ]] องค์หญิงเมี่ยวซ่านนั้น ตอนแรกเป็นชาวพุทธ ตอนหลังเทพไท่ไป๋ได้มาโปรด ชี้แนะหนทางดับทุกข์ เหตุนี้พระโพธิสัตว์กวนอิมจึงเป็นเทพทั้งฝ่ายพุทธและฝ่ายเต๋าในเวลาเดียวกัน
 
== พระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีเพศเกิดขึ้นเมื่อ ? ==
บรรทัด 52:
ชาวจีนเชื่อว่า ท่านเป็นตัวละครรองในวรรณกรรมเรื่อง ไซอิ่ว เพราะเมื่อคราวที่ซุนหงอคงมีท่าผิดปกติ พระแม่กวนอิมนำเชือกประหลาดและก็มาบอกพระถังซำจั๋งว่า จงรับรัดเกล้านี้ไป ถ้าหากสวมไปแล้ว แล้วพูดว่า '''รัดเกล้า''' รอบเดียว ก็จะปวดหัวเหมือนมีสิ่งใดมัดหัว
 
ส่วนอีกความเชื่อหนึ่งคือ ท่านสถิตย์ ณ เกาะผู่โถวซาน (聖汕頭島) และปฏิบัติธรรม ณ ที่นั่น (ปัจจุบันมีเทวรูปองค์ใหญ่เป็นพระแม่กวนอิมปางทรงธรรมจักรในพระหัตถ์ซ้าย ส่วนพระหัตถ์ขวาทำพระกิริยาห้าม มองไปที่ทะเลใต้ เรียกว่า '''หนานไห่กวนอิม (南海關)''') และมีอัครสาวกยืนขนาบกัน นั่นก็คือ พระสุธนกุมาร และธิดาพญามังกร
 
นอกจากนี้ ชาวจีนมีเคล็ดลับสำหรับผู้ที่รู้จักพระแม่กวนอิม ได้บอกว่า ผู้ใดนับถือพระแม่กวนอิม ก็จะไม่สามารถรับประทานเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อว้วและควาย และเชื่อกันว่า ถ้าผุ้ใดกัดกินเนื้อวัวควายเข้าไปแม้แต่คำเดียว อาจหมายถึงกินพระเจ้าเมี่ยวจวงโดยแท้แล.
 
==พระแม่กวนอิม ไม่ใช่เจ้าแม่กวนอิม==
การที่คนไทยจำนวนมาก นิยมเรียก พระโพธิสัตว์กวนอิมว่า เจ้าแม่กวนอิม นั้น ถือว่า เป็นการเอ่ยนานของพระองค์ที่ผิดไป เพราะว่า คำว่าเจ้าแม่ หรือ เจ้าพ่อนั้นนั้นกล่าวได้ถึง เทวดาที่อยู่ชั้นต่ำ ที่มีวิมาณของตนเองอยู่ติดโลก รับประทานเนื้อสัตว์ เช่น เจ้าแม่ตะเคียนทอง เจ้าแม่ต้นทรเป็นต้น และยังสามารถมัวเมาอยู่ใน โลภะ โทสะ และโมหะ และยังไม่สามารถที่จะบรรลุธรรมเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัตินั้น ไม่สมควรนำมาเรียกชื่อ ของพระโพธิสัตว์กวนอิม พระว่าพระองค์ท่านนั้นได้บรรลุไปถึงขั้น พระโพธิสัตว์แล้ว หากจะเรียกก็ควรเรียกว่า พระแม่กวนอิมจะดีกว่า
 
นอกจากนี้ ชาวจีนมีเคล็ดลับสำหรับผู้ที่รู้จักพระแม่กวนอิม ได้บอกว่า ผู้ใดนับถือพระแม่กวนอิม ก็จะไม่สามารถรับประทานเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อว้วและควาย และเชื่อกันว่า ถ้าผุ้ผู้ใดกัดกินเนื้อวัวควายเข้าไปแม้แต่คำเดียว อาจหมายถึงกินพระเจ้าเมี่ยวจวงโดยแท้แล.เมี่ยวจวง{{อ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวนอิม"