ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวนอิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 21 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q715162 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Paopaolnw999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| mongolian_name = Жанрайсиг, Нүдээр Үзэгч<br>'''ᠨᠢᠳᠦ ᠪᠡᠷ ᠦᠵᠡᠭᠴᠢ'''
| korean_name = 관세음보살 (gwanseeum bosal) <br />관세음 (Gwan-se-eum) <br>관음 (Gwan-eum)
| thai_name = พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร<br>เจ้าแม่พระแม่กวนอิม
| vietnamese_name = Quán Thế Âm, Quan Âm
| veneration = [[มหายาน]], [[วัชรยาน]], [[เถรวาท]] (นับถือทั่วไปอย่างไม่เป็นทางการ)
บรรทัด 32:
ต่อมาไม่นานบาปกรรมที่พระองค์ก่อไว้ส่งผล เกิดป่วยด้วยโรคร้ายแรง ไม่มียารักษาให้หายได้ เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านได้ทรงทราบด้วยญาณวิถีว่า พระบิดากำลังประสบเคราะห์กรรมอย่างหนัก ด้วยความกตัญญูกตเวทีเป็นเลิศ มิได้ถือโทษโกรธการกระทำพระบิดาแม้แต่น้อย ทรงได้สละดวงตาและแขนสองข้าง เพื่อรักษาพระบิดาจนหายจากโรคร้าย ว่ากันว่า ภายหลังสำเร็จ[[อรหันต์]] ได้ดวงตาและพระกรคืน เคยแสดงปาฏิหาริย์เป็นปาง[[กวนอิมพันมือ]] องค์หญิงเมี่ยวซ่านนั้น ตอนแรกเป็นชาวพุทธ ตอนหลังเทพไท่ไป๋ได้มาโปรด ชี้แนะหนทางดับทุกข์ เหตุนี้พระโพธิสัตว์กวนอิมจึงเป็นเทพทั้งฝ่ายพุทธและฝ่ายเต๋าในเวลาเดียวกัน
 
== เจ้าแม่พระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีเพศเกิดขึ้นเมื่อ ? ==
สำหรับรูปประติมากรรมเจ้าแม่พระแม่กวนอิมในลักษณะของเพศหญิงที่เป็นที่นับถือกันในปัจจุบันนั้น แท้จริงแล้ว เมื่อครั้งศาสนาพุทธแรกเผยแผ่จากอินเดียสู่จีนนั้น รูปลักษณ์ของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม)ก็เป็นภาพของพระโพธิสัตว์เพศชายเช่นเดียวกับในอินเดีย สันนิษฐานว่า คติเกี่ยวกับรูปเคารพพระโพธิสัตว์กวนอิม น่าจะมีมาตั้งแต่สมัยสามก๊กและราชวงค์จิ้น จนกระทั่งถึงสมัยหนานเป่ยเฉา หลักฐานสำคัญก็คือ รูปวาดจิตรกรรมฝาผนังและรูปปฏิมากรรมแกะสลักพระโพธิสัตว์กวนอิมที่ปรากฏอยู่ในถ้ำม่อเกา (莫高)ที่สร้างขึ้นในช่วงหนานเป่ยเฉานั้น เป็นภาพของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม) ที่มีลักษณะแบบเพศชาย มีริมฝีปากหนาและมีหนวดเครา
 
ส่วนเหตุผลของความเปลี่ยนแปลงจากบุคลิกลักษณะของพระอวโลกิเตศวร(พระโพธิสัตว์กวนอิม)ที่เดิมเป็นเพศชายจนแปรเปลี่ยนเป็นเพศหญิงนั้น นักประติมานวิทยา สันนิษฐานว่า น่าจะมาจากเหตุผล 2 ประการ
บรรทัด 43:
ดังนั้น จึงเชื่อกันว่า นี้คือเหตุเปลี่ยนแปลงของภาพแห่งลักษณะพระโพธิสัตว์กวนอิมที่แปรเปลี่ยนรูปลักษณ์เป็นเพศหญิงในที่สุด
 
ในด้านศิลปกรรมจีน ได้สะท้อนสัญลักษณ์ของพระโพธิสัตว์กวนอิมที่แสดงถึงความเมตตากรุณา อาทิ ภาพเจ้าแม่พระแม่กวนอิมยืนประทับบนหลังมังกรกลางมหาสมุทร , ภาพเจ้าแม่พระแม่กวนอิมพรมน้ำมนต์ศักดิ์สิทธิ์จากกิ่งหลิวในแจกัน , ภาพเจ้าแม่พระแม่กวนอิมประทับนั่งกลางป่าไผ่ , ภาพเจ้าแม่พระแม่กวนอิมปางประธานบุตร และภาพเจ้าแม่พระแม่กวนอิมพันมือ เป็นต้น
 
แต่ไม่ว่าจะแสดงภาพแห่งเจ้าแม่พระแม่กวนอิมในลักษณะใด พระองค์ก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์ของพระโพธิสัตว์ผู้เปี่ยมด้วยเมตตากรุณา ที่ประทับอยู่กลางใจของผู้ศรัทธาจนถึงปัจจุบัน
 
== ความเชื่อ ==
[[ไฟล์:20090606 Putuoshan 8786.jpg|thumb|250px|องค์หนานไห่กวนอิม(南海關)]]
[[ไฟล์:Cundi Ming Dynasty Gold.png|thumb|250px|พระจุณฑิอวโลกิเตศวร(จีน:主洛基破坏了国家冰上公主 พินอิน:Zhǔ luò jī pòhuàile guójiā bīng shàng gōngzhǔ.)]]
ชาวจีนเชื่อว่า ท่านเป็นตัวละครรองในวรรณกรรมเรื่อง ไซอิ่ว เพราะเมื่อคราวที่ซุนหงอคงมีท่าผิดปกติ เจ้าแม่พระแม่กวนอิมนำเชือกประหลาดและก็มาบอกพระถังซำจั๋งว่า จงรับรัดเกล้านี้ไป ถ้าหากสวมไปแล้ว แล้วพูดว่า '''รัดเกล้า''' รอบเดียว ก็จะปวดหัวเหมือนมีสิ่งใดมัดหัว
 
ส่วนอีกความเชื่อหนึ่งคือ ท่านสถิตย์ ณ เกาะผู่โถวซาน (聖汕頭島) และปฏิบัติธรรม ณ ที่นั่น (ปัจจุบันมีเทวรูปองค์ใหญ่เป็นเจ้าแม่พระแม่กวนอิมปางทรงธรรมจักรในพระหัตถ์ซ้าย ส่วนพระหัตถ์ขวาทำพระกิริยาห้าม มองไปที่ทะเลใต้ เรียกว่า '''หนานไห่กวนอิม(南海關)''') และมีอัครสาวกยืนขนาบกัน นั่นก็คือ พระสุธนกุมาร และธิดาพญามังกร
 
นอกจากนี้ ชาวจีนมีเคล็ดลับสำหรับผู้ที่รู้จักเจ้าแม่พระแม่กวนอิม ได้บอกว่า ผู้ใดนับถือเจ้าแม่พระแม่กวนอิม ก็จะไม่สามารถรับประทานเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อว้วและควาย และเชื่อกันว่า ถ้าผุ้ใดกัดกินเนื้อวัวควายเข้าไปแม้แต่คำเดียว อาจหมายถึงกินพระเจ้าเมี่ยวจวงโดยแท้แล.
 
==พระแม่กวนอิม ไม่ใช่เจ้าแม่กวนอิม==
การที่คนไทยจำนวนมาก นิยมเรียก พระโพธิสัตว์กวนอิมว่า เจ้าแม่กวนอิม นั้น ถือว่า เป็นการเอ่ยนานของพระองค์ที่ผิดไป เพราะว่า คำว่าเจ้าแม่ หรือ เจ้าพ่อนั้นนั้นกล่าวได้ถึง เทวดาที่อยู่ชั้นต่ำ ที่มีวิมาณของตนเองอยู่ติดโลก รับประทานเนื้อสัตว์ เช่น เจ้าแม่ตะเคียนทอง เจ้าแม่ต้นทรเป็นต้น และยังสามารถมัวเมาอยู่ใน โลภะ โทสะ และโมหะ และยังไม่สามารถที่จะบรรลุธรรมเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัตินั้น ไม่สมควรนำมาเรียกชื่อ ของพระโพธิสัตว์กวนอิม พระว่าพระองค์ท่านนั้นได้บรรลุไปถึงขั้น พระโพธิสัตว์แล้ว หากจะเรียกก็ควรเรียกว่า พระแม่กวนอิมจะดีกว่า
 
นอกจากนี้ ชาวจีนมีเคล็ดลับสำหรับผู้ที่รู้จักเจ้าแม่กวนอิม ได้บอกว่า ผู้ใดนับถือเจ้าแม่กวนอิม ก็จะไม่สามารถรับประทานเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อว้วและควาย และเชื่อกันว่า ถ้าผุ้ใดกัดกินเนื้อวัวควายเข้าไปแม้แต่คำเดียว อาจหมายถึงกินพระเจ้าเมี่ยวจวงโดยแท้แล.
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวนอิม"