ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดศรีสะเกษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.buriram (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
| พื้นที่ = 8,839.976 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]]<ref>ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm] [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.</ref>
| อันดับพื้นที่ = 21
| ประชากร = 1,452458,203370 คน<ref>[http://statสำนักทะเบียนกลาง.bora กรมการปกครอง.dopa กระทรวงมหาดไทย.go.th/stat/y_stat54.html "ประกาศสานักสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25542555." [ออนไลน์]กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทยเข้าถึงได้จาก: [http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html] 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.</ref>
| ปีสำรวจประชากร = 2554 2555<!--ยังไม่สิ้นปี 25552556, จำนวนประชากรและบ้านจากฐานข้อมูลไม่คงที่ในแต่ละวัน หากนำมาใช้ จะทำให้ในแต่ละจังหวัดมีสถิติ ณ จุดเวลาหนึ่งไม่ตรงกัน และจะเปรียบเทียบข้อมูลกันไม่ได้-->
| อันดับประชากร = 9
| ความหนาแน่น = 164.2897 คน/ตร.กม.
| อันดับหนาแน่น = 1921
<!-- ข้อมูลศูนย์ราชการ (ข้อมูลเพิ่มเติม) -->
| ศูนย์ราชการ = ศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ ถนนเทพา ตำบลเมืองเหนือ [[อำเภอเมืองศรีสะเกษ]] จังหวัดศรีสะเกษ 33000
บรรทัด 35:
}}
 
'''จังหวัดศรีสะเกษ''' เป็น[[จังหวัด]]หนึ่งในบรรดา 77 จังหวัดและกรุงเทพมหานครของ[[ประเทศไทย]] อยู่ใน[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]ตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่ม[[แม่น้ำมูล]]ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด<ref name = "royin"/> ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ<ref name = "royin"/> มีประชากรราว 1.45 ล้านคน <ref>[http://203.113.86.149/stat/pk/pk53/pk_53.pdf ประกาศสานักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553]กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย></ref> ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ [[ภาษาถิ่นอีสาน]], ภาษา[[กูย]], ภาษา[[เยอ]] และภาษา[[เขมร]] ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิม<ref name="ชื่อ">กรมศิลปากร. '''วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดศรีสะเกษ'''.คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว; [บรรณาธิการ : ปรุงศรี วัลลิโภดม],กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2544.></ref><ref>วีระ สุดสังข์."ชาวกวย-ชาวเขมร : รำตำตะ-เล่นตร๊ดที่ศรีสะเกษ", '''วารสารเมืองโบราณ''', ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2543) : หน้า 118-121.</ref><ref>สุจริตลักษณ์ ดีผดุง และคณะ. '''รายงานการทำงานภาคสนามวิชาระเบียบวิธีการทำวิจัยทางภาษาศาสตร์ภาคการศึกษาที่ 2/2534 เขมรเหนือ บ้านใจดี หมู่ 1 ตำบลใจดี อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ'''.นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, 2535.</ref>
 
มีการตั้งถิ่นฐานในจังหวัดศรีสะเกษมาแต่สมัย[[ก่อนประวัติศาสตร์]] จนเกิดพัฒนาการที่เข้มข้นในสมัย[[อาณาจักรขอม]]ซึ่งได้ทิ้งมรดกทางวัฒนธรรมหลายประการไว้ เช่น [[ปราสาทหิน]]และ[[ปรางค์กู่]][[ศิลปะขอม]]ตั้งกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง ครั้นในสมัย[[อาณาจักรอยุธยา]] มีการยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน (ตำบลลำดวนใหญ่ อำเภอวังหิน ในปัจจุบัน) เป็นเมือง[[ศรีนครลำดวน]] ต่อมาโยกย้ายลงทางใต้และได้ชื่อใหม่เป็นเมือง[[ขุขันธ์]]<ref name="ชื่อ"/><ref>ศรีศักร วัลลิโภดม,รองศาสตรจารย์. '''ค้นหาอดีตของเมืองโบราณ'''. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2538.</ref><ref>Tips, Walter W.J.'''Pavie Mission Exploration Work : laos, Cambodai, Siam, Yunnan, and Vietnam'''.[ Translated from “Mission Pavie Indo-Chine, 1879-1895. Geographie et Voyage”].Bangkok : White Lotus, 1999.</ref> และในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์|อาณาจักรรัตนโกสินทร์]]ได้ย้ายเมืองไปยังบริเวณตำบลเมืองเก่า (ตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ ในปัจจุบัน) แต่เรียกชื่อ'''เมืองขุขันธ์''' ตามเดิม กระทั่งยกฐานะเป็น '''จังหวัดขุขันธ์''' เมื่อ [[พ.ศ. 2459]] แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น '''จังหวัดศรีสะเกษ''' เมื่อ [[พ.ศ. 2481]] <ref name = "royin">[http://www.royin.go.th/akara/home/index.php อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย]</ref>