ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิตซูบิชิ แลนเซอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Apple1968 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
[[ไฟล์:Lancer 4gen.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 4]]
 
โฉมนี้ เป็นโฉมที่ผลิตขึ้นในช่วงเวลาที่ซ้อนทับกับโฉมที่ 2 มีรูปทรงคล้ายกัน แต่มีความเป็นรถธรรมดามากขึ้น ใช้เครื่องยนต์หัวฉีดขับเคลื่อนล้อหน้าธรรมดา ไม่ใช้เครื่องยนต์ที่แปลกดังโฉมที่ 2 แต่ก็มีความทันสมัย เพราะระบบเครื่องยนต์หัวฉีด แทบไม่เป็นที่รู้จักในสมัยนั้น สมัยนั้นรถที่เป็นหัวฉีดส่วนใหญ่เป็นรถแข่ง รถสปอร์ตเต็มขั้น หรือรถหรูๆ จากตะวันตกเท่านั้น นอกนั้นส่วนใหญ่จะเป็นระบบคาร์บูเรเตอร์ การนำระบบหัวฉีดมาใช้ในรถทั่วไปในสมัยนั้นจึงเป็นความทันสมัยอย่างหนึ่ง และระบบขับเคลื่อนล้อหน้า สมัยนั้นก็ไม่ค่อยมีเช่นกัน ส่วนใหญ่จะเป็นแบบขับเคลื่อนล้อหลัง ทำให้มีการนำแลนเซอร์โฉมที่ 4 ไปปรับแต่งเป็นรถสปอร์ตกึ่งครอบครัวเป็นจำนวนมาก และในประเทศไทย โฉมนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ '''Champ''' เป็นการนำรุ่นล่างสุดมาใช้ชื่อ Champ โดยผลิตระหว่างปี [[พ.ศ. 2528]]-[[พ.ศ. 2539|2539]] มีทั้งรุ่นซีดานและแฮทช์แบค และมีพรีเซนเตอร์หลายคน แตกต่างกันไปตามชนิดของตัวถัง ที่จะใช้พรีเซ็นเตอร์แตกต่างกันไป เช่น [[ลลิตา ศศิประภา]] [[หัทยา วงษ์กระจ่าง]] เป็นต้นและไม่มีการนำ Generation ที่ 5 มาทำตลาดในประเทศไทย เนื่องจาก Mitsubishi Motors ได้ลงทุนเครื่องจักรครั้งใหญ่ เพื่อให้คุ้มทุน จึงไม่มีการนำรุ่นที่ 5 มาขายในประเทศไทย
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2528-2539
* รุ่นนี้เริ่มมีคนเอาไปทำเป็นแท็กซี่แล้ว
บรรทัด 57:
[[ไฟล์:Mitsubishi_Lancer_(Chiang_Mai,_Thailand).jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 6]]
 
โฉมนี้ เป็นที่รู้จัก และเป็นที่นิยมมากในประเทศไทย วงการรถตั้งชื่อโฉมนี้ว่า '''โฉม E-CAR''' ซึ่งมีการนำเข้ามาขายเป็นจำนวนมาก มีความทนทาน แม้เวลาจะล่วงเลยมากว่า 2022 ปี ก็ยังสามารถเห็นแลนเซอร์โฉมนี้ได้ทั่วไปตามท้องถนน ในประเทศไทย แลนเซอร์โฉมนี้ มีทั้งการใช้เป็นรถส่วนตัว รถครอบครัว และแต่งเป็นรถสปอร์ต
 
เมื่อปี พ.ศ. 2535 Lancer E-CAR มีรุ่นย่อยดังนี้
บรรทัด 124:
โฉมนี้ เป็นโฉมที่สามารถขยายตลาดส่งออกได้ดีมาก แลนเซอร์โฉมนี้มีในทวีปอเมริกาเหนือ, ออสเตรเลีย, ปากีสถาน, อินเดีย, เม็กซิโก, ฟิลิปปินส์ ฯลฯ
 
แม้ปัจจุบันนี้ แลนเซอร์ในตลาดสากลจะก้าวเข้าสู่ Generation ที่ 9 แล้ว แต่แลนเซอร์ในประเทศไทยยังขายโฉมที่ 8 เพื่อขยายฐานลูกค้าของ Mitsubishi โดยให้แลนเซอร์โฉมนี้ และแลนเซอร์ อีเอ็กซ์ ตีตลาดรถยนต์นั่ง ต่างแซกเมนต์กันเซกเมนต์กัน
{{clear}}
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2544-ปัจจุบัน
บรรทัด 135:
*Lancer โฉมเก่าทำหน้าที่รถยนต์ B-Segment ไว้ต่อกรกับ [[โตโยต้า วีออส|Toyota VIOS]], [[ฮอนด้า ซิตี้|Honda City]], [[นิสสัน มาร์ช|Nissan March]], [[มาสด้า 2|Mazda 2]], Suzuki Swift, [[ฟอร์ด เฟียสตา|Ford Fiesta]] และอื่น ๆ
*Lancer EX ทำหน้าที่รถยนต์ C-Segment ไว้ต่อกรกับ Toyota Corolla Altis, Honda Civic, Nissan Tiida, Mazda 3, Ford Focus, Cheverolet Cruze และอื่น ๆ
แม้ในประเทศไทย มิตซูบิชิ มอเตอร์สจะนำ Lancer EX มาจำหน่ายในประเทศไทยช้ากว่าตลาดโลก เนื่องจากปัญหาทางการเงินของบริษัท แต่ก็ยังคงเป็นโฉมที่สมรรถนะเฉียบคมเหมือนโฉมก่อนๆ มีการใส่ระบบเกียร์ CVT 6 Speed พร้อมด้วย Sport Mode ในทุกรุ่นของ Lancer EX และเป็นเกียร์เดียวซึ่ง Lancer EX ของประเทศไทยมีขาย ตลาดส่งออกของแลนเซอร์ขยายวงกว้างขึ้นไปในทวีปอเมริกาเหนือ, ประเทศออสเตรเลีย, ฮ่องกง, มาเลเซีย, ชิลี และแถบทวีปยุโรป
 
ทางด้านของ Lancer Evolution ก็ออกรุ่น Evolution X ออกมาเพื่อเป็นรถสปอร์ตแรลลี่อีกด้วย เช่นเดียวกับโฉมต่างๆ ก่อนหน้า
 
ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]] ใช้ชื่อรุ่นนี้ว่า '''มิตซูบิชิ กาแลนต์ ฟอร์ติส''' เนื่องจากกาแลนต์รุ่นจริงได้ยกเลิกการทำตลาดในญี่ปุ่นแล้ว กาแลนต์จึงเหลือการทำตลาดในแถบอเมริกาเหนือแทน (ในปี 2556 เลิกจำหน่ายแล้ว) ที่สำคัญคือ การใช้ชื่อแลนเซอร์ชื่อเดิมจึงไม่เหมาะกับการใช้ชื่อในการทำตลาดโฉมนี้ในญี่ปุ่นนัก เนื่องจากตลาดของแลนเซอร์โฉมนี้ในญี่ปุ่นได้อยู่กึ่งกลางระหว่างตลาด C-Segment และ D-Segment ส่วนประเทศไทยใช้ชื่อในการขายว่า '''Lancer EX''' เนื่องจากยังมีการขายรุ่นที่ 8 อยู่ เพราะต้องการแบ่งแยกตลาดให้ชัดเจน ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนโฉมในปี [[พ.ศ. 2557]] โดยจะลดขนาดตัวถังให้เล็กลง ประหยัดน้ำมัน และเอาใจกลุ่มลูกค้าสุภาพสตรีเหมือนเดิม เนื่องจากรุ่นปัจจุบันมีหน้าตาที่ดุดันมาก จนไม่สามารถเอาใจลูกค้าสุภาพสตรีได้เลย
 
;รุ่นย่อยทั้งหมด (เดือนมีนาคม 2553)