ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีโทรทัศน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phat21 (คุย | ส่วนร่วม)
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบเรียงใหม่หมด
บรรทัด 3:
'''สถานีโทรทัศน์''' เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของ[[นิติบุคคล]] [[บริษัทจำกัด]]
 
== บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าภาคพื้นดิน ==
{{มุมมองสากล}}
บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า หรือ '''ฟรีทีวี''' เป็นบริการออกอากาศ[[วิทยุโทรทัศน์]] ที่หน่วย[[ราชการ]] และ[[รัฐวิสาหกิจ]][[บริษัทมหาชน]]ดำเนินการเอง หรือทำสัญญา[[สัมปทาน]]ให้[[นิติบุคคล]]ภาคเอกชนดำเนินการ ซึ่งประชาชนสามารถรับชมได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรับชม
 
บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television Services) เป็นการดำเนินงานออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ด้วยการส่งสัญญาณคลื่นไปตามอากาศ (มิใช่ส่งขึ้นสู่ชั้นอวกาศ) ซึ่งสามารถใช้เสาอากาศรับสัญญาณคลื่นดังกล่าว เพื่อใช้เครื่องรับโทรทัศน์แปลงเป็นสัญญาณโทรทัศน์เพื่อรับชมได้ทันที โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพื่อเข้าถึงการรับชมแต่อย่างใด
=== ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช. ===
วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีผลให้ในปี [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่น[[อนาล็อก]]เป็น[[ดิจิตอล]] ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าของไทย เพิ่มจาก 6 เป็น 48 ช่องในอนาคต โดยส่วนมากจะใช้ระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]] เท่าที่สามารถทำได้ก่อนในระยะแรก
 
=== บริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในประเทศไทย ===
โดยโทรทัศน์ในอนาคตที่จะใช้ระบบทีวีดิจิตอล จะมี 48ช่องโดยแบ่งเป็น ช่องเด็กและเยาวชน(SD)3ช่อง ช่องข่าว(SD)7ช่อง ช่องทั่วไป(SD)7ช่อง ช่องทั่วไปแบบคมชัดสูง(HD)7ช่อง ช่องทีวีชุมชนภูมิภาค 12ช่อง และช่องสาธารณะ12ช่อง โดยคาดว่าจะเริ่มประมูลได้ใน สิงหาคม กันยายน 2556
สำหรับในประเทศไทย คลื่นความถี่โทรทัศน์ภาคพื้นดิน เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติตามรัฐธรรมนูญ โดยมีหน่วย[[ราชการ]], [[รัฐวิสาหกิจ]]ในรูป[[บริษัทมหาชน]] หรือหน่วยงานของรัฐในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ หรือทำสัญญา[[สัมปทาน]]ให้[[นิติบุคคล]]ภาคเอกชนดำเนินการ
 
==== ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช. ====
โดยช่อง 3 7 9ซึ่งเป็นช่องธุรกิจ จะต้องประมูลในช่องธุรกิจส่วนช่อง 5 11 ThaiPBS จะขอใบอนุญาติทีวีสาธารณะ
วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีเป็นผลให้ในปีเปลี่ยนแปลงระบบคลื่นความถี่ [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่น[[สัญญาณอนาล็อก]]เป็นไปสู่[[สัญญาณดิจิตอล]] ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าภาคพื้นดินของไทย จะเพิ่มจาก 6 เป็น 48 ช่องในอนาคต ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป โดยส่วนมากจะใช้ระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]]จำนวนหนึ่ง ตามขีดควา่มสามารถเท่าที่สามารถทำได้ก่อนมีในระยะแรก
โดยคาดว่าช่องธุรกิจที่จะร่วมประมูล คือ
 
*ช่องทั่วไป ช่อง3,ช่อง7,ช่อง9,ทรู ,อินทัช,อาร์เอส(ช่อง 8),เวิร์คพอยท์,แกรมมี่,กลุ่มอัมรินทร์พริ้นติ้ง ,ไอพีเอ็ม ,เนชั่น
โดยต่อมา กสทช.วางแผนแม่บทโทรทัศน์ในอนาคตที่จะใช้ระบบทีวีดิจิตอล จะโดยกำหนดให้มีจำนวน 48 ช่อง โดยแบ่งเป็น ช่องเด็กและเยาวชน(SD)3โทรทัศน์ความละเอียดสูง 7 ช่อง, ช่องรายการประเภทข่าว(SD) 7 ช่อง, ช่องรายการทั่วไป(SD) 7 ช่อง, ช่องทั่วไปแบบคมชัดสูง(HD)7รายการเด็กและเยาวชน 3 ช่อง, ช่องทีวีรายการชุมชนและภูมิภาค 12 ช่อง และช่องรายการเพื่อสาธารณะ 12 ช่อง โดยคาดประมาณการว่าจะเริ่มประมูลได้ใน ในช่วงเดือนสิงหาคม -กันยายน พ.ศ. 2556
*ช่องเด็กและเยาวชน ช่อง 9,อินทัช,การ์ตูนคลับ ,แก๊งการ์ตูน,เนชั่น,เวิร์คพอยท์
 
*ช่องข่าว ช่อง9,เนชั่น,สปริงนิวส์ ,เดลินิวส์ ,ไทยรัฐ ,ทรู(TNN24)
สำหรับสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินเดิม ซึ่งมีสถานะเป็นช่องรายการเชิงธุรกิจ (คือ[[ไทยทีวีสีช่อง 3]], [[ช่อง 7 สี]] และ[[โมเดิร์นไนน์ทีวี]]) จะต้องเข้าประมูลช่องรายการเชิงธุรกิจ ทั้งนี้ กสทช.อนุญาตให้ทดลองออกอากาศ โดยเข้าใช้สัญญาณ ในส่วนรายการชุมชนและภูมิภาค ไปพลางก่อนได้ ส่วนสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินเดิม ซึ่งมีสถานะเป็นช่องรายการเพื่อสาธารณะ (คือ [[ททบ.5]] [[สทท.]] และ[[ไทยพีบีเอส]]) กสทช.จะอนุญาตให้เข้าใช้สัญญาณ ในส่วนช่องรายการเพื่อสาธารณะได้ เมื่อคลื่นความถี่พร้อมสำหรับการออกอากาศแล้ว
 
อนึ่ง องค์กรธุรกิจที่คาดว่าจะเข้าร่วมการประมูล ในส่วนช่องรายการข่าว ได้แก่ [[บมจ.อสมท]] ([[เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอท|เอ็มคอททีวี]]), บมจ.เนชั่นบรอดแคสติงคอร์ปอเรชัน ([[เนชั่นแชนแนล]]), [[ทรูวิชันส์|บมจ.ทรูวิชันส์]] ([[ทีเอ็นเอ็น]]), บจก.สปริงคอร์ปอเรชัน ([[สปริงนิวส์]]), บจก.เทรนด์วีจีทรี ([[ไทยรัฐ]]ทีวี), [[เดลินิวส์|บจก.สี่พระยาการพิมพ์]] ([[เดลินิวส์ทีวี]]) เป็นต้น ส่วนช่องรายการทั่วไป ได้แก่ บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ (ไทยทีวีสีช่อง 3), บจก.กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ (ช่อง 7 สี), บมจ.อสมท (โมเดิร์นไนน์ทีวี), [[ชิน คอร์ปอเรชั่น|บมจ.ชินคอร์ปอเรชัน]] (อินทัช), [[ทรู ดิจิตอล คอนเท้นท์ แอนด์ มีเดีย|บจก.ทรูดิจิตอลคอนเทนต์แอนด์มีเดีย]] (ทรูไลฟ์), [[เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์|บมจ.เวิร์คพอยท์เอ็นเทอร์เทนเมนท์]] (เวิร์คพอยท์ทีวี), [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่|บมจ.จีเอ็มเอ็มแกรมมี่]] ([[จีเอ็มเอ็มวัน|จีเอ็มเอ็มบรอดแคสติง]]), [[อาร์เอส|บมจ.อาร์เอส]] ([[สถานีโทรทัศน์ช่อง 8|ช่อง 8]]), [[อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง|อมรินทร์พรินติงแอนด์พับลิชชิง]], ไอพีเอ็ม ([[โทรทัศน์เคเบิล]]), [[เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป|บมจ.เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป]] (คมชัดลึกทีวี) เป็นต้น ส่วนช่องรายการเด็กและเยาวชน ได้แก่ บมจ.อสมท (เอ็มคอททีวี), บมจ.ชินคอร์ปอเรชัน (อินทัช), บจก.เอฟฟ์ ([[การ์ตูนคลับแชนแนล|การ์ตูนคลับ]]), [[โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์|บจก.โรสมีเดียแอนด์เอ็นเตอร์เทนเมนท์]] ([[แก๊งการ์ตูน แชนแนล|แก๊งการ์ตูน]]), บมจ.เนชั่นอินเตอร์เนชันแนลเอ็ดดูเทนเมนต์ (คิดส์โซน), บมจ.เวิร์คพอยท์เอ็นเทอร์เทนเมนท์ (ช่อง 6 รอบรู้ดูสนุก) เป็นต้น
 
== ดูเพิ่ม ==