ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บ้านพิษณุโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VIP903 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
VIP903 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] รัฐบาลของ[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ได้ซื้อบ้านหลังนี้จากเจ้าของเดิม เพื่อไม่ให้ญี่ปุ่นซื้อไปเป็น[[สถานทูต]] เนื่องจากบ้านนี้ตั้งอยู่ใกล้กับ[[กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์|กองพันทหารราบที่ 3]] ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ รัฐบาลสมัยนั้นได้ใช้บ้านนรสิงห์ เป็น[[ทำเนียบรัฐบาล]] (ภายใต้ชื่อ "ทำเนียบสามัคคีชัย") สำหรับบ้านบรรทมสินธุ์นั้น ในช่วงแรก ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "บ้านไทยพันธมิตร" ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้ง เป็น "บ้านพิษณุโลก" เนื่องจากบ้านหลังนี้ตั้งอยู่บน[[ถนนพิษณุโลก]] ข้าง[[โรงพยาบาลมิชชั่น]] ได้ใช้เป็นที่ต้อนรับแขกเมืองสำคัญของรัฐบาลมาจนปัจจุบัน
 
รัฐบาลยุคต่อมาได้ปรับปรุงบ้านพิษณุโลก เพื่อใช้เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี มาตั้งแต่สมัย พล.อ.[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] ในปี พ.ศ. 2522 และมาแล้วเสร็จในรัฐบาล พล.อ.[[เปรม ติณสูลานนท์]] ในปี พ.ศ. 2524 พลเอกเปรม ได้ย้ายเข้าไปพัก แต่ก็อยู่เพียง 2 วัน จึงย้ายออกไปพักที่บ้านพักเดิมคือ [[บ้านสี่เสาเทเวศร์]] ในยุค พล.อ.[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]] เป็นนายกรัฐมนตรี ก็ได้มีการใช้บ้านหลังนี้เป็นที่ทำงานของคณะที่ปรึกษาจนมีชื่อเสียงโด่งดัง เรียกกันติดปากสื่อมวลชนว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก"แต่ไม่ได้มีการใช้เป็นที่พัก<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2534/A/032/1.PDF แถลงการณ์คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ ฉบับที่ 1]</ref> โดยนายกรัฐมนตรียุคต่อมามีเพียง นาย[[ชวน หลีกภัย]] เป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายที่เข้าพักบ้านพิษณุโลกหลังนี้และอยู่ได้นานทั้งสองสมัยการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี [http://www.youtube.com/watch?v=P6k8A7bRBIM]
 
== บ้านพิษณุโลกในสื่อร่วมสมัย ==