ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สรรพเทวนิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''สรรพเทวนิยม''' ({{lang-en|Pantheism}}) เป็นแนวคิดซึ่งเชื่อว่า[[เอกภพ]] ([[ธรรมชาติ]]) กับ[[พระเจ้าพระเป็นเจ้า]]นั้นเป็นสิ่งเดียวกัน<ref>{{Cite book | title = The New Oxford Dictionary Of English | publisher = Clarendon Press | edition = | date = 1998 | location = Oxford | pages = 1341 | doi = | id = | isbn = 0-19-861263-X | mr = | zbl = | jfm = }}</ref> ดังนั้นผู้ที่เชื่อในสรรพเทวนิยมจึงไม่เชื่อในแนวคิดพระเจ้าที่เป็นตัว[[บุคคล]] [[มานุษยรูปนิยม|มีรูปร่างแบบมนุษย์]] (anthropomorphism) หรือ[[พระผู้สร้าง]] สรรพเทวนิยมยังได้แสดงแนวคิดที่ว่า "พระเจ้า" นั้นควรถูกมองในวิถีทางที่เกี่ยวข้องกับเอกภพจึงจะดีที่สุด<ref name="Deity">Owen, H. P. ''Concepts of Deity''. London: Macmillan, 1971.</ref> แม้ว่าจะมีความแตกต่างในสรรพเทวนิยมอยู่บ้าง แนวคิดหลักที่พบได้ในเกือบทุกแบบคือจักรวาลในฐานะที่รวบรวมเอกภาพและความศักดิ์สิทธิ์ของธรรมชาติ
 
ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 สรรพเทวนิยมได้รับการฟื้นคืนอีกครั้ง<ref name="ReferenceA">Paul Harrison, Elements of Pantheism, 1999</ref> และได้รับการป่าวประกาศจากความตระหนักเกี่ยวกับระบบนิเวศที่เพิ่มมากขึ้นในสังคมและสื่อ สรรพเทวนิยมมักถูกประกาศว่าเป็น "เทววิทยา" เบื้องหลังของลัทธิ[[เพกัน]]<ref>Margot Adler, Drawing Down the Moon, Beacon Press, 1986</ref> ในปี พ.ศ. 2518 เป็นปีก่อตั้งสมาคมสรรพเทวนิยมสากล อย่างไรก็ตามกลุ่มดังกล่าวยังคงมีขนาดเล็กมาก การก่อตั้งขบวนการสรรพเทวนิยมโลกอันมีลักษณะธรรมชาตินิยมในปี พ.ศ. 2542 โดยมีจดหมายกลุ่มและเครือข่ายสังคมมาก ทำให้กลุ่มได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางกว่ามาก
บรรทัด 5:
เดอะก็อดดีลูชันของริชาร์ด ดอว์คินส์ ได้ทำให้สรรพเทวธรรมชาตินิยมได้รับความเชื่อถือมากยิ่งขึ้นในหมู่ผู้ที่เชื่อว่าไม่มีพระเจ้า โดยอธิบายสรรพเทวนิยมว่า "อเทวนิยมที่น่าสนใจขึ้น"<ref>[[The God Delusion]]. Boston: Houghton Mifflin. 2006.</ref> [[สันตะสำนัก]]ได้รับรองความสำคัญของสรรพเทวนิยมยิ่งขึ้นในสารพระสันตปาปาในปี พ.ศ. 2552<ref name="Caritas In Veritate, July 7, 2009">Caritas In Veritate, July 7, 2009</ref> และแถลงการณ์วันขึ้นปีใหม่เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ซึ่งวิจารณ์สรรพเทวนิยมที่ปฏิเสธว่ามนุษย์เหนือว่าธรรมชาติ และ "เห็นแหล่งการไถ่บาปของมนุษย์ในธรรมชาติ"<ref name="Caritas In Veritate, July 7, 2009"/>
 
สรรพเทวนิยมแตกต่างจาก[[สากลเทวนิยมสรรพัชฌัตเทวนิยม]] (panentheism) ซึ่งเชื่อว่าพระเจ้าปรากฏอยู่ทุกหนแห่งในจักรวาลและในทางทฤษฎีแล้วมีอยู่ "นอกเหนือจาก" หรือ "พ้น" จักรวาลในฐานะผู้สร้างและผู้ค้ำจุน<ref>John W. Cooper, ''The Other God of the Philosophers'', Baker Academic, 2006, p 27</ref> ดังนั้น สากลสรรพัชฌัตเทวนิยมจึงไม่ใช่อย่างเดียวกับสรรพเทวนิยม ซึ่งพระเจ้ากับจักรวาลนั้นเป็นสิ่งเดียวกัน และไม่มีส่วนใดของพระเจ้าอยู่แยกออกจากจักรวาล<ref>[http://atheism.about.com/library/FAQs/religion/blrel_theism_panen.htm What is Panentheism?], atheism.about.com. About Agnosticism/Atheism. Retrieved 2 October 2009.</ref><ref>{{cite book
|url=http://books.google.com/books?id=sCY4sAjTGIYC&pg=PA21
|title= The Encyclopedia of Christianity
บรรทัด 18:
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาเทวนิยม]]