ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนิต อยู่โพธิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 4:
== รับราชการ ==
 
เริ่มรับราชการ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2477 สอบเข้ารับราชการในตำแหน่งเสมียนพนักงานชั้นจัตวา แผนกโบราณคดี กองศิลปากร กรมศิลปากร
*22 เมษายน 2483 สอบชั้นตรี ประจำกองวรรณคดี กรมศิลปากร
*1 พฤษภาคม 2486 สอบเลื่อนขั้นเป็นข้าราชการชั้นโท หัวหน้าแผนกค้นคว้า กองวรรณคดี กรมศิลปากร
บรรทัด 11:
*15 ตุลาคม 2499 โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร และในขณะเดียวกัน ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] (อธิบดี) ด้วย
 
เมื่อมีพระราชบัญญัติปรับปรุงมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงพ้นตำแหน่งหน้าที่ในมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2508
แต่ยังคงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรและรับราชการอยู่ในตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร ประมาณ 12 ปี
 
บรรทัด 31:
# จัดสร้างพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในจังหวัดต่างๆ และสร้างขึ้นไว้แล้ว 7 แห่ง คือ [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์]] รวมทั้งได้ปรับปรุงพัฒนาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติและโบราณวัตถุใน[[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]]จังหวัดลพบุรีให้ทันสมัย
# ได้ริเริ่มสำรวจโบราณสถานและขุดค้นโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุในป่า ในถ้ำ และใต้ดิน ซึ่งพบโบราณวัตถุและศิลปวัตถุทั้งในสมัยประวัติศาสตร์และสมัยก่อนประวัติศาสตร์มากมาย โดยเฉพาะเรื่องราวของ[[วัฒนธรรมบ้านเชียง]] จังหวัดอุดรธานี และวัฒนธรรมบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี เป็นต้น
# ได้จัดส่งข้าราชการไทยในกรมศิลปากรไปศึกษาและดูงานด้านพิพิธภัณฑสถานโบราณคดี งานหอสมุดและหอจดหมายเหตุ ณ ประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกา ได้ก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เพิ่มเติม และปรับปรุงบริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครขึ้นใหม่ กับทั้งได้ติดต่อกับ[[ยูเนสโก]] ขอให้ส่งผู้เชี่ยวชาญมาให้คำปรึกษาและช่วยจัดตั้งแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุในอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ตามหลักวิชาการพิพิธภัณฑสถานสากลจนเป็นที่เรียบร้อย และเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
# ดำเนินงานซ่อม[[ปราสาทหินพิมาย]] ในจังหวัดนครราชสีมา จนสามารถต่อยอมตามรูปแบบขึ้นไว้ได้ และเริ่มโครงการซ่อม[[ปราสาทหินเขาพนมรุ้ง]]ในจังหวัดบุรีรัมย์ในเวลาต่อมา
# ริเริ่มให้มีการสำรวจและศึกษาจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย โดยนำศาสตราจารย์[[ศิลป พีระศรี]] ร่วมเดินทางไปสำรวจด้วยตนเอง พบจิตรกรรมฝาผนังสกุลช่างต่าง ๆ ที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงหลายแห่ง เช่น ในถ้ำศิลป์ จังหวัดยะลา ภายในองค์พระปรางค์วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นต้น ซึ่งได้ถ่ายรูปสีและขาวดำไว้ และได้จัดออกแสดงเผยแพร่ให้ประชาชนชม พร้อมทั้งได้เขียนคำอธิบายและจัดพิมพ์เป็นหนังสือ