ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤๅษี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
คอมมอนส์มีเยอะแยะ
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
[[File:Chyavana.jpg|thumb|right|250px|[[ชยวัน|ชยวนฤๅษี]]ผู้เลื่องชื่อในเทพปกรณัมฮินดู]]
'''ฤๅษี''' หรือ '''ฤษี''' ([[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]]: ṛṣi; [[เทวนาครี]]: ऋषि) หมายความว่า ผู้แต่งพระเวท หรือผู้เห็น ฤๅษีเป็นนักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบำเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ ตามสถานที่สงัดต่างๆ ในป่าเขาหรือถ้ำ และเดิมมักเป็นหญิง ซึ่งเรียก "ฤษิก" (rishika)<ref>Swami [[Vivekananda]] public lecture, Vedanta Voice of Freedom, ISBN 0-91635663-9, p.43</ref> ตามความในคัมภีร์สารวานุกรมนี (Sarvanukramani) ในบรรดาผู้แต่ง[[ฤคเวท]]นั้น เป็นฤษีหญิงถึงยี่สิบคน
 
เรียก "ฤษิก" (rishika)<ref>Swami [[Vivekananda]] public lecture, Vedanta Voice of Freedom, ISBN 0-91635663-9, p.43</ref> ตามความในคัมภีร์สารวานุกรมนี (Sarvanukramani) ในบรรดาผู้แต่ง[[ฤคเวท]]นั้น เป็นฤษีหญิงถึงยี่สิบคน
:'''<big>ฤ</big>'''ษี คำว่าฤษี อาจหมายถึงมุนี ({{lang-en|[[muni]]}}) ฤษี อีกความหมายหนึ่งคือ ฤษีเพศชาย ส่วน "ฤษิณี" หมายถึง ฤษีเพศหญิง ฤษีที่มีชื่อเสียงชื่อ ฤษี วยาส ผู้สร้างโศลกเรื่องมหากาพย์ภารตะ ซึ่งเป็นมหากาพย์ที่มีจำนวน[[โศลก]]มากจำนวนประมาณถึง 1 แสนโศลก ตำนานเล่าว่า ฤๅษีเวทวฺยาส หรือ กฤษฺณ ไทฺวปายน เป็นปู่ของสองพี่น้องตระกูลเการพและปาณฑพ และเป็นเหลนใหญ่ของท้าวภรต คัมภีร์โบราณของฮินดูระบุไว้ว่า ท้าวภรต (ภะ-ระ-ตะ) ผู้นี้เป็นโอรสท้าวทุษยันต์ อันเกิดจากนาง[[ศกุนตลา]]<ref>หนังสือภารตวิทยา ISBN 9789747236118</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฤๅษี"