ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมืองสิงห์ (ประเทศลาว)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nut1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nut1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 82:
}}
 
'''เมืองสิง''' (ภาษาลาว:ເມືອງສີງ)เป็นเมืองี่มีประชากรส่วนใหญ่เป็น[[ชาวไทลื้อ]] เพราะอยู่ใกล้[[สิบสองปันนา]]ใน[[มณฑลยูนนาน]] [[ประเทศจีน]] ชาวไทลื้ออาศัยในพื้นที่ลุ่ม ส่วนบนเขตภูเขาเป็นที่อยู่ของ[[ชาวม้ง]] [[ชาวเย้า]] แต่เดิมเป็นเมืองเดียวกับ[[เมืองเชียงแขง]] ใน[[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]] แต่เมื่อ[[อังกฤษ]]และ[[ฝรั่งเศส]]เข้ามาล่าอาณานิคม ได้ตกลงแบ่งดินแดนกันโดยใช้[[แม่น้ำโขง]]เป็นแดน ฝั่งเชียงแขงจึงอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ และรัฐฉานของพม่าในที่สุด ส่วนฝั่งเมืองสิงอยู่ในการปกครองของฝรั่งเศส และประเทศลาวในปัจจุบันในวันที่ ๙ พฤษภาคม ปีค.ศ. ๑๘๙๖ กองทัพของฝรั่งเศสนำโดย M. vacle ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับชาการหัวเมืองลาวภาคเหนือ และผู้แทนของจักรวรรดิอังกฤษ ภายใต้การนำของ Mr.Stirling ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นรองผู้กำกับรัฐฉาน ได้พบปะกันในเมืองสิง เพื่อพูดคุยเรื่องสนธิสัญญา “ อังกฤษ-ฝรั่งเศส”ที่จัดขึ้นในกรุงลอนดอนเมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ปีค.ศ.๑๘๙๖ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับสถานภาพของรัฐเจ้าฟ้าไทลื้อขนาดเล็ก หลังจากนั้น มีการระบุเขตแดนริมฝั่งแม่น้ำโขงระหว่าง อังกฤษ พม่า และ ฝรั่งเศส อินโดจีน ในวันที่ ๑๑ พฤษภาคม กองกำลังอังกฤษที่ได้ประจำการอยู่ในเมืองสิงตั้งแต่ เดือน เมษายน ปี ค.ศ. ๑๘๙๕ นั้นก็ได้ถอนกองกำลังออกไป หลังจากนั้นเพียง ๒ อาทิตย์ เจ้าฟ้าสาลีหน่อก็ได้กลับมาจากเมืองหลวงน้ำทา ซึ่งเจ้าฟ้าได้ไปลี้ภัยในระหว่างที่อังกฤษเข้ามายึดครองเมืองสิง เจ้าฟ้าสาลีหน่อได้เป็นเจ้าฟ้าเมืองสิงอีกครั้งหนึ่งภายใต้อำนาจของฝรั่งเศส เจ้าฟ้ารู้สึกเสียใจกับดินแดนที่ลดหายไปเกือบครึ่งหนึ่ง เพราะว่าเมืองที่ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำโขงฝั่งขวานั้น เช่น เมืองเชียงลาบ เมืองยู้ และเมืองหลวย ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าทั้งสองเมืองนั้นได้ตกไปเป็นของอังกฤษเสียแล้ว
ในวันที่ ๙ พฤษภาคม ปีค.ศ. ๑๘๙๖ กองทัพของฝรั่งเศสนำโดย M. vacle ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับชาการหัวเมืองลาวภาคเหนือ และผู้แทนของจักรวรรดิอังกฤษ ภายใต้การนำของ Mr.Stirling ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นรองผู้กำกับรัฐฉาน ได้พบปะกันในเมืองสิง เพื่อพูดคุยเรื่องสนธิสัญญา “ อังกฤษ-ฝรั่งเศส”ที่จัดขึ้นในกรุงลอนดอนเมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม ปีค.ศ.๑๘๙๖ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับสถานภาพของรัฐเจ้าฟ้าไทลื้อขนาดเล็ก หลังจากนั้น มีการระบุเขตแดนริมฝั่งแม่น้ำโขงระหว่าง อังกฤษ พม่า และ ฝรั่งเศส อินโดจีน ในวันที่ ๑๑ พฤษภาคม กองกำลังอังกฤษที่ได้ประจำการอยู่ในเมืองสิงตั้งแต่ เดือน เมษายน ปี ค.ศ. ๑๘๙๕ นั้นก็ได้ถอนกองกำลังออกไป หลังจากนั้นเพียง ๒ อาทิตย์ เจ้าฟ้าสาลีหน่อก็ได้กลับมาจากเมืองหลวงน้ำทา ซึ่งเจ้าฟ้าได้ไปลี้ภัยในระหว่างที่อังกฤษเข้ามายึดครองเมืองสิง เจ้าฟ้าสาลีหน่อได้เป็นเจ้าฟ้าเมืองสิงอีกครั้งหนึ่งภายใต้อำนาจของฝรั่งเศส เจ้าฟ้ารู้สึกเสียใจกับดินแดนที่ลดหายไปเกือบครึ่งหนึ่ง เพราะว่าเมืองที่ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำโขงฝั่งขวานั้น เช่น เมืองเชียงลาบ เมืองยู้ และเมืองหลวย ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าทั้งสองเมืองนั้นได้ตกไปเป็นของอังกฤษเสียแล้ว
ในวันที่ ๙ ตุลาคม ปีค.ศ. ๑๙๐๑ เจ้าฟ้าสาลีหน่อได้ถึงแก่พิราลัยด้วยวัย ๕๕ ปี ในปีเดียวกัน บุตรชายองค์โตชื่อ เจ้าอ่องคำ ได้ขึ้นเป็นเจ้าฟ้าเมืองสิง จากนั้น ๒ ปี เจ้าอ่องคำได้รับตำแหน่งทหารจากรัฐบาลฝรั่งเศส การปกครองเมืองของเจ้าอ่องคำนั้นอยู่ภายใต้อาณัติของฝรั่งเศส ระบบการจัดเก็บภาษีและการปกครองล้วนใกล้เคียงกับหัวเมืองลาวที่อยู่ในบังคับของฝรั่งเศสทั้งหมด อย่างไรก็ตาม เมืองสิงคงความเป็นเอกราชได้จนกระทั่งถึงวันที่ ๖ เมษายน ปีค.ศ.๑๙๑๖ เมื่อฝรั่งเศสได้ปลดเจ้าฟ้า และได้ยัดเยียดให้เป็นนักโทษการเมือง สาเหตุมาจากที่ เจ้าฟ้าพยายามที่จะปลดแอกจากฝรั่งเศสโดยการขอความช่วยเหลือกลุ่มชาวจีนฮ่อ ที่เข้ามารุกรานหัวเมืองภาคเหนือของลาวในปีค.ศ. ๑๙๑๔ และแล้วเจ้าฟ้าองค์สุดท้ายของเมืองสิงได้หลบหนีทิ้งบ้านเมืองและชาวเมืองไปยังเมืองสิบสองพันนา
ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเมืองสิงได้ถูฝรั่งเศสปกครองจนกระทั่ง มาเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลาว การเดินทางมายังเมืองสิง อาจจะเดินทางด้วนรถโดยสารประจำทางจาก[[เมืองห้วยทราย]] [[แขวงบ่อแก้ว]] หรือขึ้นเรือโดยสารจากเมืองห้วยทราย ล่องตามแม่น้ำโขงจนถึงหลวงน้ำทาแล้วจึงขึ้นรถต่อไปยังเมืองสิง นอกจากนั้นยังมีเที่ยวบินจาก[[เวียงจันทน์]]ไป[[แขวงหลวงน้ำทา]]อีกด้วย
[[หมวดหมู่:แขวงหลวงน้ำทา]]
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศลาว]]