ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำเหมืองแร่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อ.ปูน (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
อ.ปูน (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
การทำเหมืองแร่ เป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเรื่องการทำลายสิ่งแวดล้อม การทำเหมืองแร่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ๆ มีการทำเหมืองแร่ แต่การทำเหมืองแร่ไม่ได้เป็นการทำลายสิ่งแวดล้อม ทำลายทัศนียภาพอันสวยงาม หากผู้ทำเหมืองปฎิบัติตามหลักวิชาการ ซึ่งการทำหมืองแร่ตามหลักวิชาการ จะคำนึงถึงความคุ้มค่าในการใช้ประโยชน์แร่ ทั้งในด้านสังคมเศรษฐกิจ และการป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยเหมืองแร่ทุกประเภทและทุกขนาดต้องมีการจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)ก่อนได้รับอนุญาตให้ดำเนินการ นอกจากนี้ เหมืองแร่จะเกิดไม่ได้เลยหากไม่ได้รับการยอมรับของสังคม หรือชุมชนที่มีเหมืองแร่อยู่บริเวณใกล้เคียง
 
เหมืองแร่เก่าที่ขุดแบบเปิด ในอดีตมักก่อ[[ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม]]และ[[สุนทรียภาพ]] ซึ่งพบเห็นได้ทั้งในต่างประเทศไทย รวมทั้งและต่างประเทศไทยจึง ส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดจิตสำนึก ขาดกฎหมายควบคุม และเหมืองในอดีตอยู่ห่างไกลเมืองมาก แต่ปัจจุบันเรามีกฎหมายบังคับควบคุม มีหน่วยงานรับผิดชอบ ซึ่งกำหนดให้[[ผู้รับสัมปทาน]]ต้องดูแลป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมือง และทำการฟื้นฟูสภาพ (Reclamation) ซึ่งปกติมีงาน[[ภูมิสถาปัตยกรรม]]เป็นส่วนสำคัญ หากจะเป็นปัญหาปัจจุบัน ส่วนหนึ่งอาจเป็นเรื่องจิตสำนึก การลักลอบทำเหมืองผิดกฎหมาย การสอดส่องดูแลของเจ้าหน้าที่ๆอาจไม่ทั่วถึง เป็นต้น ตัวอย่างที่ดีของการทำเหมืองแร่ในประเทศไทยได้แก่[[เหมืองแม่เมาะ]] ที่[[อำเภอแม่เมาะ]] [[จังหวัดลำปาง]]
 
โดยทั่วไปเราจำแนกการทำเหมืองแร่ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ