ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
| ทางเดินกลาง =
| แขนกางเขน =
| ขนาดสัดส่วน = ความกว้าง {{convert|69|m}} ความ</br>ยาว {{convert|128|m}}
| รายละเอียดอื่น =
| แบบผัง = [[แผนผังมหาวิหาร|กางเขน]]
บรรทัด 42:
 
 
[[ไฟล์:|thumb|250px|มหาวิหารน็อทร์-ดาม]]
[[ไฟล์:Notre Dame de Paris Est side.jpg|thumb|250px|"ครีบยันลอย" (flying buttress) ที่ยื่นออกไปรอบบริเวณร้องเพลงด้านหลังโบสถ์]]
 
'''อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส''' ({{lang-fr|Cathédrale Notre-Dame de Paris}} ''กาเตดราลน็อทร์-ดามเดอปารี''<ref>ตาม [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/106/27.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส]</ref>) หรือ '''มหาวิหารน็อทร์-ดาม''' เป็น[[อาสนวิหาร]]ประจำ[[อัครมุขมณฑลปารีส]] ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุง[[ปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] คำว่า ''Notre Dame'' แปลว่า '''พระแม่เจ้า''' (Our Lady) ซึ่งเป็นคำที่ชาวคาทอลิกใช้เรียก[[พระนางมารีย์พรหมจารี]] ปัจจุบันอาสนวิหารก็ยังใช้เป็นโบสถ์ของ[[คริสตจักร]]นิกาย[[โรมันคาทอลิก]]และเป็นที่ตั้งอาสนะของ[[อัครมุขนายก|อาร์ชบิชอป]]แห่งปารีส มหาวิหารน็อทร์-ดามถือกันว่าเป็นโบสถ์ที่สวยงามที่สุดในลักษณะ[[สถาปัตยกรรมกอทิก|กอทิก]]แบบฝรั่งเศส โบสถ์นี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดย[[เออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก]] ผู้เป็น[[สถาปนิก]]คนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส
 
 
'''อาสนวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส''' ({{lang-fr|Cathédrale Notre-Dame de Paris}} ''กาเตดราลน็อทร์-ดามเดอปารี''<ref>ตาม [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/106/27.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส]</ref>) หรือ '''มหาวิหารน็อทร์-ดาม''' เป็น[[อาสนวิหาร]]ประจำ[[อัครมุขมณฑลปารีส]] ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุง[[ปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] คำว่า ''Notre Dame'' แปลว่า '''พระแม่เจ้า''' (Our Lady) ซึ่งเป็นคำที่ชาวคาทอลิกใช้เรียก[[พระนางมารีย์พรหมจารี]] ปัจจุบันอาสนวิหารก็ยังใช้เป็นโบสถ์ของ[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]]และเป็นที่ตั้งอาสนะของ[[อัครมุขนายก|อาร์ชบิชอป]]แห่งปารีส มหาวิหารน็อทร์-ดามถือกันว่าเป็นโบสถ์ที่สวยงามที่สุดในลักษณะ[[สถาปัตยกรรมกอทิก|กอทิก]]แบบฝรั่งเศส โบสถ์นี้ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดย[[เออแฌน วียอแล-เลอ-ดุก]] ผู้เป็น[[สถาปนิก]]คนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของฝรั่งเศส
 
การก่อสร้างเป็นแบบ[[สถาปัตยกรรมกอทิก|กอทิก]] นับเป็นมหาวิหารแรกที่สร้างในลักษณะนี้ และการก่อสร้างก็ทำต่อเนื่องมาตลอดสมัยกอทิก [[ประติมากรรม]] และหน้าต่างประดับกระจกสี (stained glass) มีอิทธิพลจากศิลปะแบบแนทเชอราลลิสม์ ทำให้แตกต่างจาก[[ศิลปะโรมาเนสก์]]ที่สร้างก่อนหน้านั้น
 
น็อทร์-ดามเป็นหนึ่งในบรรดาสิ่งก่อสร้างแรกที่ใช้ "[[ครีบยันลอย]]" ตามแบบเดิมไม่ได้บ่งถึงกำแพงค้ำยันรอบมหาวิหาร "[[บริเวณร้องเพลงสวด]]" หรือ รอบ[[บริเวณกลางโบสถ์]] เมื่อเริ่มสร้างกำแพงโบสถ์สูงขึ้นกำแพงก็เริ่มร้าวเพราะน้ำหนักของสิ่งก่อสร้าง เพราะสถาปนิกสมัยกอธิคทิกจะเน้นการสร้างสิ่งก่อสร้างที่สูง บาง และโปร่ง มื่อสร้างสูงขึ้นไปกำแพงก็ไม่สามารถรับน้ำหนักและความกดดันของกำแพงและหลังคาได้ทำให้กำแพงโก่งออกไปและร้าว สถาปนิกจึงใช้วิธีแก้ด้วยการเติม "กำแพงค้ำยัน" ที่กางออกไปคล้ายปีกนกด้านนอกตัววัด เพื่อให้กำแพงค้ำยันนี้หนุนหรือค้ำกำแพงตัวโบสถ์เอาไว้ เมื่อทำไปแล้วนอกจากจะมีประโยชน์ทางการใช้สอยแล้วยังกลายเป็นเครื่องตกแต่งที่ทำให้สิ่งก่อสร้างความสวยงามขึ้น ฉะนั้นวิธีแก้ปัญหานี้จึงกลายเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่งของโบสถ์ที่สร้างแบบกอทิกไปในตัว
 
ราวปี ค.ศ. 1790 ระหว่าง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] โบสถ์ก็ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ประติมากรรมและศิลปะทางศาสนาถูกทำลายไปมาก มหาวิหารได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนมีสภาพเหมือนก่อนหน้าที่ถูกทำลาย