ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไม้ม้วน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{อักษรไทย1|ใ}}
'''ไม้ม้วน''' หรือ '''สระไอไม้ม้วน''' [[อักษร]]ตัวหนึ่งใน[[ภาษาไทย]] ทำหน้าที่แทนเสียง[[สระ]] สำหรับใช้แทนเสียง "ไอ" โดยมีตำแหน่งเฉพาะ วางไว้หน้า[[พยัญชนะ]] ออกเสียงอย่างเดียวกับ สระไอไม้มลาย (ไ)
 
ไม้ม้วนมีปรากฏในภาษาเขียนของไทย มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ใน[[ศิลาจารึกหลักที่หนึ่ง]] ของ[[พ่อขุนรามคำแหง]] ปรากฏคำว่า ใคร ใคร่ ใด ใส ใหญ่ ใน ให้ ใช้ ใต้ ใศ่ ใว้ เป็นต้น
บรรทัด 27:
|}
 
ส่วนในหนังสือหนังสือ[[ประถมมาลา]] แต่งโดยพระเทพโมลี (ผึ้ง) ในสมัย[[รัชกาลที่ 3]] ได้ให้หลักการใช้ไม้ม้วน ดยโดยที่สองบทท้ายเป็นคำกลอนจากตำราจินดามณีนั่นเอง ดังนี้
 
{|align="center"