ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมคอมพิวเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เว็บภาควิชาไม่เกี่ยวกับบทความนี้
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แยก เนื้อหากว่าครึ่งไม่ได้พูดถึงเนื้อหาวิชาการ
บรรทัด 11:
 
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในอเมริกาส่วนมาก เริ่มก่อตั้งขึ้นภายใต้หรือควบคู่กับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ตั้งแต่ต้น[[คริสต์ทศวรรษ 1990]] บางมหาวิทยาลัยเลือกที่จะผนวกสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และ[[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]]เข้ากับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ในขณะที่บางที่เช่น [[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] เลือกที่จะรวมภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเข้ากับภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์แทน
 
== วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย ==
ในประเทศไทย มีหลักสูตรทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ขึ้นครั้งแรก ใน[[ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
โดยได้รับอนุมัติเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2518 เพื่อจัดดำเนินการด้านการเรียน และการสอนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์อันจะช่วยให้การสอนของอาจารย์ และการวิจัยของข้าราชการของมหาวิทยาลัย มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตลอดจนสร้างโปรแกรม ทำโครงการพัฒนาระบบการใช้งานภาษาไทย และสร้างระบบคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ รวมถึงจัดอบรมวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ในระดับทั่วไป โดยมีรากฐานจาก"หน่วยคอมพิวเตอร์ไซแอนส์" (Computer Science หรือหลักสูตร[[วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์]]ในปัจจุบัน) ซึ่งทำการสอนวิชาด้านคอมพิวเตอร์ให้แก่นิสิตปริญญาตรีในคณะต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้เปิดหลักสูตรการศึกษาชั้นประกาศนียบัตรทางด้านคอมพิวเตอร์ไซแอนส์ (ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน หรือ กพ. ให้การรับรอง) ขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ซึ่งก็มีผู้สนใจเข้าเรียนจนจบ และได้ประกาศนียบัตรไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งต่อมา เนื่องจากสังกัดอยู่กับบัณฑิตวิทยาลัย หน่วยคอมพิวเตอร์ไซแอนส์จึงได้เปิดหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ศาสตร์ (วท.ม) ขึ้นในปี พ.ศ. 2514 โดยรับนิสิตปริญญาโทจากผู้ที่จบปริญญาตรีสาขาวิชาต่าง ๆ เกือบทุกสาขาวิชา และยังพิจารณาที่จะช่วยเหลือการศึกษาด้านนี้แก่มหาวิทยาลัยอื่น ๆ อีกด้วย
 
== งาน ==
เส้น 23 ⟶ 19:
=== ด้าน ฮาร์ดแวร์ ===
เป็นการ วิจัย พัฒนา ออกแบบ ควบคุมการผลิต ทดสอบ คอมพิวเตอร์ และ และอุปกรณ์ประกอบ ตั้งแต่ แผงวงจร ระบบควบคุม ไมโครคอนโทรเลอร์
 
== อันดับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย ==
จากคะแนนรับตรงของนักเรียน เลือกเข้า สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ในปั 2554 โดยเรียงตามคะแนนต่ำสุด ที่เข้าได้ ดังนี้
# มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
# จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
# สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
# มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
# มหาวิทยาลัยมหิดล
 
จากการจัดอันดับเมื่อปี 2553 โดย[[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]](สกว.) ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย สำหรับภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]] ได้จัดอันดับในกลุ่ม'''ดีเยี่ยม''' และ [[ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ได้รับการจัดอันดับในระดับ '''ดีมาก''' ดูเพิ่มเติมได้ที่ [[อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย]]
 
== หลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ==
เส้น 46 ⟶ 32:
#[[วิศวกรรมซอฟต์แวร์|วิศวกรรมซอฟต์แวร์]]
#[[เครือข่ายคอมพิวเตอร์|เครือข่ายคอมพิวเตอร์]]
 
== สถาบันที่เปิดสอนวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย ==
=== สถาบันอุดมศึกษา และ มหาวิทยาลัยในกำกับ ของรัฐ ===
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี|คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
* [[คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา]]
* [[สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]]
* [[สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ และทรัพยากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์]]
* [[สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ภาคภายัพ เชียงใหม่]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์]]
* [[คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์]]
* [[สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]]
 
=== มหาวิทยาลัยเอกชน ===
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น]]
* [[วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต]]
* [[คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสาน]]
* [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์]]
* คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันปัญญาภิวัฒน์
 
== ดูเพิ่ม ==