ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แตงไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
Sitthichan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 20:
ผลอ่อนของแตงไทยนำมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริกหรือนำไปดอง ผลสุกมีรสจิดหรืออมหวานเล็กน้อย เนื้อซุย ชุ่มน้ำ กลิ่นหอม นิยมกินสดหรือทำของหวาน เช่น น้ำกะทิแตงไทย และทำน้ำปั่น ทำเป็นผลไม้แห้งได้ บางพันธุ์ปลูกเพื่อนำเมล็ดไปสกัดน้ำมัน บางชนิดปลูกเพื่อต้องการนำกลิ่นหอมไปใช้ประโยชน์<ref>{{cite book |authorlink= |author=National Research Council |editor= |others= |title=Lost Crops of Africa: Volume III: Fruits |url=http://books.nap.edu/openbook.php?record_id=11879 |accessdate=2008-07-17 |edition= |series=Lost Crops of Africa |volume=3 |date=2008-01-25 |publisher=National Academies Press |location= |isbn=978-0-309-10596-5 |oclc= |doi= |id= |pages= |chapter=Melon |chapterurl=http://books.nap.edu/openbook.php?record_id=11879&page=135 |quote= |ref= |origyear= }}</ref>
 
แตงไทยมีคาร์โบไฮเดรด แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และวิตามินซี<ref name="cantaloupeND">[http://nutritiondata.self.com/facts/fruits-and-fruit-juices/1954/2 Nutrition Facts for melons, cantaloupe]</ref> เนื้อมีฤทธิ์เย็น ช่วยดับกระหาย แก้เลือดกำเดาไทลไหล ดอกอ่อนตากแห้งต้มดื่มช่วยให้อาเจียน แก้โรคดีซ่าน หรือบดเป็นผงพ่นแก้แผลในจมูก เมล็ดแก่ช่วยในการขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร แก้ไอ รากต้มดื่มช่วยระบายท้อง<ref>[http://www.doctor.or.th/node/3941 ประโยชน์ด้านอื่นๆ] </ref>
 
==รวมภาพ==
<gallery>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/แตงไทย"