ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องแบบนักเรียนญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ๆ" → " ๆ " ด้วยสจห.
บรรทัด 11:
ชุดนักเรียนชั้นมัธยมประกอบด้วยชุดเครื่องแบบทหารสำหรับเด็กผู้ชายและชุดกะลาสีสำหรับเด็กผู้หญิง ชุดเหล่านี้มีต้นกำเนิดมาจากชุดทหารใน[[ยุคเมจิ]] ซึ่งลอกแบบมาจากชุดนาวีของยุโรป ปัจจุบันยังคงมีการใช้ชุดเหล่านี้อยู่ หลายโรงเรียนเปลี่ยนไปใช้ชุดตามโรงเรียนสอนศาสนาของตะวันตก ชุดของผู้ชายประกอบด้วยเสื้อเชิ้ตสีขาว เนคไท เสื้อแจ๊คเก็ตที่มีตราโรงเรียน และกางเกงขายาว (มักเป็นคนละสีกับเสื้อแจ๊คเก็ต) ชุดผู้หญิงประกอบด้วยเสื้อสีขาว เนคไท เสื้อแจ๊คเก็ตที่มีตราโรงเรียน และกระโปรงตาหมากรุก
 
ทุกโรงเรียนจะมีเครื่องแบบภาคฤดูร้อน (ชุดผู้ชายประกอบด้วยเสื้อเชิ้ตสีขาวและกางเกงสแล็ก ชุดผู้หญิงประกอบด้วยเครื่องแบบน้ำหนักเบา และกระโปรงตาหมากรุก) และชุดกีฬา นักเรียนอาจแต่งกายแตกต่างกันในชั้นเรียนเดียวกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของแต่ละโรงเรียน นักเรียนบางคนอาจฝ่าฝืนกฎด้วยการใส่เครื่องแบบผิดระเบียบหรือใส่เครื่องแบบข้อห้ามต่างๆต่าง ๆ เช่น ถุงเท้าหย่อนๆหย่อน ๆ ขนาดใหญ่และติดเข็มกลัด นักเรียนหญิงอาจใส่กระโปรงสั้นๆสั้น ๆ นักเรียนชายอาจใส่กางเกงระดับสะโพก ไม่ผูกเนคไท และปลดกระดุมเสื้อ
 
เนื่องจากบางโรงเรียนไม่มีห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าแบบแยกเพศหรือห้องที่มีประตูล็อก นักเรียนจึงเปลี่ยนเสื้อกีฬาในห้องเรียน ทำให้มีนักเรียนบางคนที่ใส่ชุดกีฬาไว้ใต้เครื่องแบบนักเรียน โรงเรียนบางโรงเรียนบังคับทรงผม รองเท้า และกระเป๋าหนังสือ แต่นักเรียนมักจะปฏิบัติตามกฎในวาระพิเศษต่างๆต่าง ๆ เท่านั้น เช่น วันเปิดเทอม พิธีปิด และวันถ่ายรูปชั้น
 
== กัคคุรัน ==
บรรทัด 21:
กัคคุรัน (''学ラン'') หรือ สึเมะเอะริ (''詰め襟'') เป็นเครื่องแบบสำหรับนักเรียนชายในระดับมัธยม โดยทั่วไปส่วนมากเป็นสีดำ แต่บางโรงเรียนก็ใช้สีกรมท่า และสีน้ำเงินเข้ม
 
กัคคุรันเป็นเป็นเสื้อมีปกที่กลัดกระดุมจากบนลงล่าง กระดุมมักมีตราของโรงเรียน กางเกงเป็นกางเกงขายาว เข็มขัดสีดำหรือสีเข้มๆเข้ม ๆ เด็กผู้ชายมักใส่รองส้นเตี้ยและรองเท้ากีฬา บางโรงเรียนบังคับให้นักเรียนติดเข็มกลัดที่ปกเสื้อเพื่อบอกโรงเรียนและบอกชั้น
 
เด็กผู้ชายมักให้กระดุมเม็ดที่สองของเสื้อกับเด็กผู้หญิงที่ตนเองหลงรัก ถือเป็นการสารภาพรักในทางหนึ่ง โดยกล่าวกันว่าเป็นกระดุมเม็ดที่อยู่ใกล้หัวใจและเต็มไปด้วยความรักที่มีมาตลอดสามปีในโรงเรียน การปฏิบัติเช่นนี้เป็นที่นิยมเนื่องมาจากฉากหนึ่งในนิยายที่แต่งโดย [[ไดจุน ทาเคดะ]] (武田泰淳) <ref name="button2">{{cite web|url=http://www.okayama-ap.or.jp/study/school.html#dai2|title=卒業式の日になぜ第2ボタンを渡すの?|publisher=岡山県アパレル工業組合|accessdate=2007-07-11}} {{ja icon}}</ref><ref name="lumi">{{cite web|url=http://www.ffortune.net/calen/kinenbi/11/button.htm|title=ボタンの日(11.22)|date=2001-11-22|accessdate=2007-07-11|author=Lumi}} {{ja icon}}</ref><ref name="oshiete">{{cite web|url=http://homepage2.nifty.com/osiete/s504.htm|title=なんで第二ボタンなの?|accessdate=2007-07-11}} {{ja icon}}</ref>
บรรทัด 28:
ชุดกะลาสี (セーラー服 ''เซราฟุกุ'') เป็นเครื่องแบบนักเรียนหญิงชั้นมัธยมโดยทั่วไป โรงเรียนประถมบางโรงเรียนก็ใส่ชุดกะลาสี ชุดนี้เริ่มใช้เป็นเครื่องแบบครั้งแรกตั้งแต่ปี 1921 โดย อลิซาเบธ ลี ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยฟุกุโอะกะ โจะกะกุอิง (福岡女学院) ชุดนี้ลอกแบบมาจากราชนาวีของอังกฤษในสมัยนั้น ซึ่งลีเคยเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนที่สหราชอาณาจักร
 
เช่นเดียวกับเครื่องแบบนักเรียนชาย ชุดกะลาสีมีความคล้ายคลึงกับชุดทางทหาร ประกอบด้วยเสื้อเชิ้ตที่มีปกแบบกะลาสีและกระโปรงจีบ ในช่วงหน้าร้อนและหน้าหนาวจะมีการปรับแขนเสื้อและเนื้อผ้าให้เหมาะสมกับฤดูกาล มีรีบบิ้นผูกอยู่ข้างหน้าโดยร้อยผ่านรูรอบๆรอบ ๆ เสื้อ บางครั้งอาจเป็นเนคไท ผ้าพันคอ หรือโบว์ สีทั่วไปได้แก่สีกรมท่า สีขาว สีเทา สีเขียวอ่อน และสีดำ
 
บางครั้งรองเท้าและถุงเท้าก็ถูกนับรวมเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องแบบ ถุงเท้าโดยทั่วไปเป็นสีกรมท่าและสีขาว รองเท้าเป็นรองเท้าส้นเตี้ยสีน้ำตาลและสีดำ ซึ่งถุงเท้าย่นๆย่น ๆ เป็นที่นิยมมากในกลุ่มเด็กผู้หญิง แม้จะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องแบบก็ตาม
 
== ความสำคัญเชิงวัฒนธรรม ==