ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหวัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
G(x) (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 33:
 
=== ลมฟ้าอากาศ ===
ทฤษฎีชาวบ้านดั้งเดิมมีว่า โรคหวัดสามารถ "ติด" ได้จากการสัมผัสอากาศหนาวเป็นเวลานาน เช่น สภาพฝนตกหรือฤดูหนาว จึงเป็นที่มาของชื่อโรค cold ในภาษาอังกฤษ<ref>{{cite news |author=Zuger, Abigail |title='You'll Catch Your Death!' An Old Wives' Tale? Well.. |newspaper=[[The New York Times]] |date=4 March 2003 |url=http://www.nytimes.com/2003/03/04/science/you-ll-catch-your-death-an-old-wives-tale-well.html}}</ref> บทบาทการเย็นตัวของร่างกายเป็นปัจจัยเสี่ยงโรคหวัดนั้นยังถกเถียงกันอยู่<ref name="Mourtzoukou">{{cite journal | author = Mourtzoukou EG, Falagas ME | title = Exposure to cold and respiratory tract infections | journal = The international journal of tuberculosis and lung disease : the official journal of the International Union against Tuberculosis and Lung Disease | volume = 11 | issue = 9 | pages = 938–43 | year = 2007 | month = September | pmid = 17705968 | doi = }}</ref> ไวรัสบางชนิดที่เป็นเหตุของโรคหวัดมีตามฤดูกาล ซึ่งเกิดขึ้นบ่อยกว่าในอากาศที่หนาวหรือเปียก<ref>Eccles Pg.79</ref> บางคนเชื่อว่า การติดโรคหวัดเป็นเพราะการใช้เวลาอาศัยอยู่ในอาคารที่ร่มใกล้ชิดกับผู้ที่ติดเชื้อดังกล่าวเป็นระยะเวลานานขึ้น<ref name="EcclesPg">Eccles Pg.80</ref> โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่กลับจากโรงเรียน<ref name=Text2007/> อย่างไรก็ดี โรคหวัดยังอาจเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินหายในที่ส่งผลให้มีความไวเพิ่มขึ้น<ref name="EcclesPg" /> ความชื้นที่ต่ำสามารถเพิ่มอัตราการแพร่เชื้อไวรัสได้เนื่องจากอากาศแห้งทำให้ละอองไวรัสขนาดเล็กกระจายไปไกลขึ้นและอยู่ในอากาศนานขึ้น<ref>Eccles Pg. 157</ref>
 
=== อื่น ๆ ===