ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กำแพงเบอร์ลิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Berlinermauer.jpg|thumb|250px|กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี [[พ.ศ. 2529]]]]
'''กำแพงเบอร์ลิน''' ({{lang-de|Berliner Mauer}}) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงหลังเยอรมันพ่ายสงครามโลกครั้งที่สอง และถูกแบ่งเป็นสองประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดน[[เบอร์ลินตะวันตก]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[เยอรมันเยอรมนีตะวันตก]] ออกจาก[[ประเทศเยอรมนีตะวันออก|เยอรมนีตะวันออก]]ที่โอบล้อมอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ [[13 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2504]] (ค.ศ. 1961) และได้ทำหน้าที่ในการปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนจะทลายลงในวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]]
 
ในเยอรมันเยอรมนีตะวันออก กำแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม แต่สำหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า [[สงครามเย็น]] นั่นเอง กำแพงเบอร์ลิน ทำให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ
 
นับตั้งแต่การสร้างกำแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมันตะว้นออกเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมันเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกำแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กำแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 136 ถึง 206 คน<ref>เป็นการศึกษาในปี ค.ศ. 1990 จาก [[Berliner Illustrirte Zeitung]] vom 3. Oktober 1990 (Sonderausgabe), S. 113</ref>
 
 
บรรทัด 12:
ในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังกองทัพ[[นาซีเยอรมัน]] ภายใต้การนำของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ได้พ่ายใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] กองทัพ[[สัมพันธมิตร]]ได้เข้ายึดครองประเทศเยอรมัน และต่อมา 4 ประเทศมหาอำนาจที่เป็นแกนนำในสงครามครั้งนั้น ได้แก่ [[สหรัฐอเมริกา]] [[อังกฤษ]] [[ฝรั่งเศส]] และ[[สหภาพโซเวียต]] ได้ทำสนธิสัญญาในการแบ่งการดูแลประเทศเยอรมันออกเป็น 4 ส่วนภายใต้การดูแลของแต่ละประเทศ และเช่นกัน กรุง[[เบอร์ลิน]] เมืองหลวงของประเทศ ได้ถูกแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ส่วนเช่นเดียวกัน
 
ปีต่อมา เยอรมนีภายใต้การปกครองของ 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส รวมกันจัดตั้งเป็นประเทศ[[สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี]] หรือ [[เยอรมันเยอรมนีตะวันตก]] ในขณะที่เยอรมนีส่วนที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ได้จัดตั้งเป็นประเทศ[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี]] หรือ [[เยอรมันเยอรมนีตะวันออก]] ในช่วงแรก ประชาชนของทั้งสองประเทศสามารถเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่กันได้เป็นปกติ แต่เมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้น ความแตกต่างระหว่างการปกครองแบบประชาธิปไตยในเยอรมันเยอรมนีตะวันตก และการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์ในเยอรมันเยอรมนีตะวันออก มีความแตกต่างที่เด่นชัดขึ้น ในขณะที่เยอรมันเยอรมนีตะวันตกได้รับการพัฒนา และฟื้นฟูประเทศ อาคารบ้านเรือนต่าง ๆ ที่พังทลายในช่วงสงครามโลกได้รับการบูรณะ ส่วนเยอรมันเยอรมนีตะวันออกทุกอย่างกลับสวนทางกัน ยิ่งไปกว่านั้นธุรกิจทุกอย่างถูกเปลื่ยนมือไปเป็นของรัฐ เป็นเหตุให้ผู้คนพากันอพยพข้ามถิ่นจากเยอรมันเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมันเยอรมนีตะวันตกกันมากขึ้น เฉพาะในปี [[ค.ศ. 1961]] เพียงปีเดียว ซึ่งมีข่าวลือว่า ทางเยอรมันเยอรมนีตะวันออกจะปิดกั้นพรมแดนระหว่างสองประเทศ ทำให้ผู้คนกว่า 3 ล้านคน พากันอพยพไปยังเยอรมันเยอรมนีตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้รัฐบาลเยอรมันเยอรมนีตะวันออก ภายใต้การควบคุมของสหภาพโซเวียตได้เร่งสร้างกำแพงกันแนวระหว่างสองประเทศ และรวมไปถึง แนวกำแพงที่ปิดล้อมกรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตกอีกด้วย
 
== กำแพงเบอร์ลิน ==
 
ผลจากการย้ายออกของชาวเยอรมันตะวันออก ที่มีมากเกินการควบคุม รัฐบาลเยอรมันเยอรมนีตะวันออกในขณะนั้น จึงได้สร้างกำแพงกั้นระหว่างประเทศเยอรมันเยอรมนีตะวันออก และเยอรมันกับเยอรมนีตะวันตก ว่ากันว่า แนวกำแพงที่กั้นระหว่างสองประเทศนี้ยาวเป็นอันดับสองรองจากกำแพงเมืองจีนทีเดียว
 
ในส่วนของกรุงเบอร์ลิน นครหลวงของประเทศทั้งสอง มีที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศเยอรมันเยอรมนีตะวันออก ดังนั้น นครเบอร์ลินฝั่งตะวันตก จึงถูกปิดล้อมด้วยเยอรมันเยอรมนีตะวันออกรอบด้าน ในระยะแรก การเดินทางเข้าออกระหว่างเบอร์ลินตะวันออก และเบอร์ลินตะวันตก เป็นไปโดยเสรี กระทั่งเมื่อมีการอพยพของชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนมาก เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมันเยอรมนีตะวันออกเร่งสร้างกำแพงเพื่อปิดกั้นการย้ายถิ่นของชาวเยอรมัน ในวันที่ [[13 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2507]] เป็นวันแรกที่มีการสร้างกำแพงเพื่อปิดล้อมกรุงเบอร์ลินตะวันตก และเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามเย็นในยุคนั้น
 
กำแพงเบอร์ลิน ถูกใช้งานเป็นเวลา 28 ปี ในช่วงเวลานี้ มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและรูปแบบของกำแพงถึง 4 ครั้ง แต่ละครั้งจะเพิ่มความแข็งแรง และความสูงของกำแพงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อป้องกันการหลบหนีของชาวเยอรมันตะวันออก เนื่องจากกำแพงกันระหว่างเยอรมันเยอรมนีตะวันออก และเยอรมันเยอรมนีตะวันตก มีจุดเปราะบางที่สุดที่กรุงเบอร์ลินนี่เอง กำแพงเบอร์ลินทั้ง 4 รุ่นมีพัฒนาการดังนี้
* กำแพงรุ่นที่ 1 เริ่มสร้างเมื่อวันที่ สิงหาคม พ.ศ. 2507 เป็นแนวรั้วลวดหนาม เป็นการสร้างชั่วคราวเพื่อป้องกันการอพยพของประชาชน เป็นกำแพงเบอร์ลินรุ่นที่มีอายุใช้งานสั้นที่สุด
* กำแพงรุ่นที่ 2 เป็นกำแพงก่ออิฐถือปูน ถูกสร้างขึ้นแทนกำแพงรั้วลวดหนามทันทีที่กำแพงรั้วลวดหนามเสร็จสมบูรณ์ แต่กำแพงก่ออิฐถือปูนนี้ก็ไม่แข็งแรงพอที่ปิดกั้นความปรารถนาในการแสวงหาเสรีภาพของประชาชน มีความพยายามในการหลบหนีด้วยการทำลายกำแพงเกิดขึ้นหลายครั้ง
บรรทัด 36:
== การเสียชีวิตในการลอบข้ามกำแพง ==
 
ในการลอบข้ามกำแพง เป็นความเสี่ยงที่ต้องแลกมาด้วยชีวิต ด้วยรัฐบาลเยอรมันเยอรมนีตะวันออกมีกฎที่ว่าผู้หลบหนีจะถูกยิงทิ้งทันทีที่พบเห็น จำนวนผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บจากการลอบข้ามกำแพงเบอร์ลินนั้นยังไม่แน่ชัดนัก บางแหล่งระบุว่ามี 192 คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีกประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ขณะที่บางแหล่งข้อมูลกลับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตเพียง 136 คน<ref>http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/8349742.stm</ref> บางแหล่งข้อมูลกับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตสูงถึง 246 คน<ref name="http://www.newseum.org/cybernewseum/exhibits/berlin_wall/index.htm">http://www.newseum.org/cybernewseum/exhibits/berlin_wall/index.htm</ref> และในวิกีพีเดียภาษาอังกฤษได้ระบุตัวเลขผู้เสียชีวิตไว้ 100 - 200 คน เหตุที่เป็นดังนี้ เนื่องจากทางรัฐบาลเยอรมันเยอรมนีตะวันออกไม่ได้ทำรายงานเรื่องนี้ และเมื่อมีผู้เสียชีวิตในการลอบข้ามกำแพง ทางการก็ไม่ได้แจ้งข่าวแก่ครอบครัวอีกด้วย
 
เหตุการณ์เสียชีวิต ณ กำแพงเบอร์ลิน ครั้งที่โด่งดังที่สุด เกิดขึ้นเมื่อวันที่ [[17 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2505]] (ค.ศ. 1962) เมื่อนายปีเตอร์ เฟตช์เตอร์ (Peter Fechter)เด็กหนุ่มที่ลอบข้ามกำแพงเบอร์ลินถูกยิง และปล่อยให้เลือดไหลจนตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินการต่อต้านกำแพงเบอร์ลินอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อวัน ผู้หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือนาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ [[6 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2532]] (ค.ศ. 1989)
บรรทัด 42:
== การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน ==
 
ในปี [[ค.ศ. 1989]] ตรงกับยุคที่ นาย[[มิคามีฮาอิล กอร์บาชอฟ]] เป็นประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ได้มีการทดลองการปฏิรูปการปกครองไปสู่ระบอบ[[ประชาธิปไตย]] ใน[[เยอรมันเยอรมนีตะวันออก]] ได้มีการชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะในเมือง[[โพสต์ดัม]] [[ไลพ์ซิกไลพ์ซิจ]] และ[[เดรสเดน]] เริ่มต้นในวันที่ [[8 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1989]] และดำเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมันเยอรมนีตะวันออกได้รับความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่า จะเปิดพรมแดนให้ชาวเยอรมันสามารถเดินทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ ในวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]] ([[ค.ศ. 1989]]) ในวันดังกล่าวชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนมากได้มารวมตัวกัน ณ กำแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยัง[[เบอร์ลิน]]ตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน
 
มีบางแหล่งข้อมูลอ้างว่า ในวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]] นาย Günter Schabowski รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาการ (Minister of Propaganda) ของเยอรมนีตะวันออกได้แถลงข่าว (ซึ่งภายหลังพบว่าเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของเขาเอง) ว่าทางการจะอนุญาตให้ชาวเบอร์ลินตะวันออก ผ่านเข้าออกเขตแดนได้อย่างเสรีอีกครั้ง ทันใดนั้นเอง ผู้คนนับหมื่นที่ได้ทราบข่าวก็ได้หลั่งไหลไปยังด่านต่าง ๆ ของกำแพง. หลังจากความโกลาหลอยู่ช่วงหนึ่ง เนื่องจากทางเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยังไม่ได้รับคำสั่งใด ๆ จากทางการ ในที่สุดเจ้าหน้าที่ก็ต้องยอมปล่อยให้ฝูงชนผ่านเขตแดนไปอย่างไม่มีทางเลือก ชาวเบอร์ลินตะวันตกออกมาต้อนรับชาวเบอร์ลินตะวันออก บรรยากาศในเช้ามืดวันนั้นเหมือนงานเฉลิมฉลอง