ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยมอสโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
สมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่สองและหลังสงคราม มหาวิทยาลัยมอสโกสเตตได้พัฒนาแขนงวิชา[[เอเชียศึกษา]] รวมทั้ง[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]ศึกษาอย่างกว้างขวางเพื่อใช้เป็นข้อมูลในวางนโยบายการเมือง กล่าวกันว่ามหาวิทยาลัยมอสโกสเตตมีคณาจารย์ทำวิจัยด้านเอเชียศึกษามากกว่าคณาจารย์ผู้ชำนาญทาง[[บูรพคดีศึกษา]]ทั้งของอ๊อกซฟอร์ด, เคมบริดจ์ และฮาร์วาร์ดรวมกัน ทั้งนี้เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลสำคัญในการวางยุทธศาสตร์ทางทหาร ดังนั้นจวบจวนทุกวันนี้ มหาวิทยาลัยมอสโกสเตตของรัสเซียจึงมีคณาจารย์ที่เชี่ยวชาญทางเอเชียเป็นจำนวนมาก{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
'''คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอสโก ([http://en.wikipedia.org/wiki/MSU_Faculty_of_Journalism Faculty of Journalism, Lomonosov MoscoeMoscow State University])''' (ซึ่งตั้งอยู่ที่วิทยาเขตเก่าใกล้กับพระราชวังเครมลิน) ยังจัดได้ว่าเป็นคณะด้านวารสารศาสตร์ นิเทศศาสตร์ การสื่อสารมวลชน '''ที่ใหญ่ที่สุดในโลก''' (อ้างอิง : http://journalism.missouri.edu/2003/02/partnership-with-russias-largest-school-of-journalism-announced) ด้วยจำนวนสาขาวิชา จำนวนนักเรียน อาคารเรียน และมี'''เครือข่ายมหาวิทยาลัยพันธมิตรจากทั่วโลกที่มากที่สุดในบรรดาคณะด้านวารสารศาสตร์ทั่วโลก''' (อ้างอิง :http://www.journ.msu.ru/eng/partners) ทั้งในเอเชีย อเมริกา และในยุโรป ได้แก่
 
'''International'''
บรรทัด 107:
Colby College
 
อีกทั้งยังมีมหาวิทยาลัยคณะวารสารศาสตร์ Partner ชื่อดังที่จัดได้ว่าเป็น '''คณะวารสารศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก''' ได้แก่ [http://en.wikipedia.org/wiki/Missouri_School_of_Journalism Missouri School of Journalism, University of Missouri - Columbia] ซึ่งเป็น'''คณะวารสารศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก'''อีกด้วย (อ้างอิง : http://journalism.missouri.edu/2003/02/partnership-with-russias-largest-school-of-journalism-announced, )